ภาษาไทลื้อ

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข

รากศัพท์ 1

แก้ไข

ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง (MC dzjen, “เงินตรา”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย สิน, ภาษาคำเมือง ᩈᩥ᩠ᨶ (สิน), ภาษาลาว ສິນ (สิน), ภาษาไทใหญ่ သိၼ် (สิน)

คำนาม

แก้ไข

ᦉᦲᧃ (สีน)

  1. สิน (เงิน, ทรัพย์)

รากศัพท์ 2

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

ᦉᦲᧃ (สีน)

  1. ศีล
    ᦔᦲᧃ ᦅᦳᧃ ᦠᦹᧉ ᦙᦲ ᦉᧆᦈ, ᦔᦲᧃ ᦘᦰ ᦠᦹᧉ ᦙᦲ ᦉᦲᧃ
    ปีน คุน หื้ มี สัดจ, ปีน ภะ หื้ มี สีน
    เป็นคนให้มีสัจจะ เป็นพระให้มีศีล

รากศัพท์ 3

แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย สิน, ภาษาคำเมือง ᩈᩥ᩠ᨶ (สิน), ภาษาลาว ສີນ (สีน), ภาษาเขิน ᩈᩥ᩠ᨶ (สิน), ภาษาไทใหญ่ သိၼ် (สิน), ภาษาไทใต้คง ᥔᥤᥢᥴ (สี๋น)

คำกริยา

แก้ไข

ᦉᦲᧃ (สีน) (คำอาการนาม ᦂᦱᧃᦉᦲᧃ)

  1. สิน, ตัด, ฟัน

รากศัพท์ 4

แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทใหญ่ သဵၼ် (เสน), ภาษาไทใต้คง ᥔᥥᥢᥴ (เส๋น), ภาษาอาหม 𑜏𑜢𑜃𑜫 (สิน์)

คำกริยา

แก้ไข

ᦉᦲᧃ (สีน) (คำอาการนาม ᦂᦱᧃᦉᦲᧃ)

  1. กระเด็น
    ᦝᦱᧂᧉᦑᦰ ᦓᧄᧉ ᦉᦲᧃ ᦃᧁᧉ ᦺᦓ ᦷᦠ ᦈᧅ ᦝᦱᧉᦎᦳᧂᧈᦋᦲᧈ
    ฟ้างทะ นั้ม สีน เฃ้า ไน โห จัก ฟ้าตุ่งชี่
    ป้องกันน้ำกระเด็นเข้าในหัวจักรมอเตอร์
  2. เด้ง