ภาษาไทลื้อแก้ไข

การออกเสียงแก้ไข

รากศัพท์ 1แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *χawꟲ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เข้า, ภาษาลาว ເຂົ້າ (เข็้า), ภาษาไทดำ ꪹꪄ꫁ꪱ (เฃ้า), ภาษาไทใต้คง ᥑᥝᥲ (เฃ้า), ภาษาไทใหญ่ ၶဝ်ႈ (ข้ว), ภาษาอาหม 𑜁𑜧 (ขว์), 𑜁𑜨𑜧 (ขอ̂ว์), 𑜁𑜧𑜈𑜫 (ขว์ว์) หรือ 𑜁𑜨𑜧𑜈𑜫 (ขอ̂ว์ว์), ภาษาจ้วง haeuj

คำกริยาแก้ไข

ᦃᧁᧉ (เฃ้า) (คำอาการนาม ᦂᦱᧃᦃᧁᧉ)

  1. เข้า
    ᦕᦴᧉ ᦅᦳᧃ ᦃᧁᧉ ᦺᦔ ᦺᦓ ᦷᦆᧄᧈ ᦔᦱᧈ ᦺᦙᧉ
    ผู้ คุน เฃ้า ไป ไน โฅ่ม ป่า ไม้
    ผู้คนเข้าไปในเขตป่าไม้

รากศัพท์ 2แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *C̬.qawꟲ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ข้าว, ภาษาคำเมือง ᨡᩮᩢ᩶ᩣ (เขั้า), ภาษาลาว ເຂົ້າ (เข็้า), ภาษาไทดำ ꪹꪄ꫁ꪱ (เฃ้า), ภาษาไทใหญ่ ၶဝ်ႈ (ข้ว), ภาษาพ่าเก ၵွ် (เขา), ภาษาอาหม 𑜁𑜧 (ขว์), 𑜁𑜨𑜧 (ขอ̂ว์) หรือ 𑜁𑜧𑜈𑜫 (ขว์ว์), ภาษาจ้วง haeux, ภาษาแสก เกฺา

คำนามแก้ไข

ᦃᧁᧉ (เฃ้า)

  1. ข้าว
    ᦂᦲᧃ ᦃᧁᧉ ᦂᦱᧂ ᦆᦹᧃ
    กีน เฃ้า กาง ฅืน
    กินข้าวกลางคืน