ᥜᥫᥐᥱ
ภาษาไทใต้คง
แก้ไขรากศัพท์ 1
แก้ไขร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ฝึก, ภาษาลาว ຝຶກ (ฝึก) หรือ ເຝິກ (เฝิก), ภาษาคำเมือง ᨺᩧ᩠ᨠ (ฝึก) หรือ ᨺᩮᩥ᩠ᨠ (เฝิก), ภาษาเขิน ᨺᩧ᩠ᨠ (ฝึก), ภาษาไทลื้อ ᦵᦚᦲᧅ (เฝีก), ภาษาไทใหญ่ ၽိုၵ်း (ผึ๊ก) หรือ ၾိုၵ်း (ฝึ๊ก), ภาษาอาหม 𑜇𑜢𑜤𑜀𑜫 (ผึก์), ภาษาจ้วง faek
คำกริยา
แก้ไขᥜᥫᥐᥱ (เฝ่อ̂ก) (อักขรวิธี 1963 ᥜᥫᥐ̌)
คำพ้องความ
แก้ไขฝึกหัด
- ᥘᥦᥢᥱ (แล่น)
| width=1% | |bgcolor="#F9F9F9" valign=top align=left width=48%|
ลูกคำ
แก้ไขเรียน
- ᥑᥨᥒᥳᥜᥫᥐᥱ (โฃ๎งเฝ่อ̂ก)
- ᥜᥫᥐᥱᥘᥤᥞᥥᥢᥰᥒᥣᥛᥰ (เฝ่อ̂กลีเห๊นง๊าม)
| width=1% | |bgcolor="#F9F9F9" valign=top align=left width=48%|
- ᥜᥫᥐᥱᥘᥤᥞᥥᥢᥰᥘᥣᥭᥰ (เฝ่อ̂กลีเห๊นล๊าย)
การใช้
แก้ไขระวังสับสนกับ "ฝึก" ในภาษาไทย ซึ่งมีรากศัพท์เดียวกัน ให้ใช้ ᥘᥦᥢᥱ (แล่น) แทนเมื่อหมายถึง "ฝึกหัด"
รากศัพท์ 2
แก้ไขร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เฝือก, ภาษาลาว ເຝືອກ (เฝือก), ภาษาคำเมือง ᨺᩮᩬᩥᨠ (เฝอิก), ภาษาเขิน ᨺᩮᩨ᩠ᨠ (เฝืก), ภาษาไทลื้อ ᦵᦚᦲᧅᧈ (เฝี่ก), ภาษาไทใหญ่ ၽိူၵ်ႇ (เผิ่ก) หรือ ၾိူၵ်ႇ (เฝิ่ก), ภาษาอาหม 𑜇𑜢𑜤𑜀𑜫 (ผึก์)
คำนาม
แก้ไขᥜᥫᥐᥱ (เฝ่อ̂ก) (อักขรวิธี 1963 ᥜᥫᥐ̌)