ภาษาไทใหญ่

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข

รากศัพท์ 1

แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ʰniːᴬ¹; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย หนี, ภาษาอีสาน หนี, ภาษาลาว ໜີ (หนี), ภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨶᩦ (หนี), ภาษาเขิน ᩉ᩠ᨶᩦ (หนี), ภาษาไทลื้อ ᦐᦲ (หฺนี), ภาษาไทดำ ꪘꪲ (หฺนิ), ภาษาไทใต้คง ᥘᥤᥴ (ลี๋, ย้าย, อพยพ), ภาษาอาหม 𑜃𑜣 (นี)

คำกริยา

แก้ไข

ၼီ (นี) (คำอาการนาม လွင်ႈၼီ)

  1. (ร้อยกรอง, อกรรม) หนี (เช่นหนีจากที่อาศัยอยู่)
  2. (ร้อยกรอง, อกรรม) ไป
  3. (ร้อยกรอง, อกรรม) อพยพ, ย้ายถิ่น

รากศัพท์ 2

แก้ไข

ยืมมาจากภาษาพม่า နှစ် (หฺนจ์); เทียบภาษาจีนยุคกลาง (MC nen); ร่วมรากกับ ၼီႈ (นี้)

คำนาม

แก้ไข

ၼီ (นี)

  1. ปี

อ้างอิง

แก้ไข