ดูเพิ่ม: °ฟ., , ฟ., ฟี, และ ฟู่

ภาษาไทย แก้ไข

รากศัพท์ แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *vuːᴬ⁴ (ลอย), จากภาษาไทดั้งเดิม *wuːᴬ (ลอย), จากภาษาจีนยุคกลาง (MC bjuw); ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน ฟู, ภาษาลาว ຟູ (ฟู), ภาษาคำเมือง ᨼᩪ (ฟู), ภาษาเขิน ᨼᩪ (ฟู), ภาษาไทลื้อ ᦝᦴ (ฟู), ภาษาไทดำ ꪡꪴ (ฟุ), ภาษาไทขาว ꪡꪴ, ภาษาไทใหญ่ ၽူး (ผู๊) หรือ ၾူး (ฝู๊), ภาษาพ่าเก ၸူ (ผู), ภาษาอาหม 𑜇𑜥 (ผู), ภาษาจ้วง fouz, ภาษาปู้อี fux

การออกเสียง แก้ไข

การแบ่งพยางค์ฟู
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงfuu
ราชบัณฑิตยสภาfu
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/fuː˧/(สัมผัส)

คำกริยา แก้ไข

ฟู (คำอาการนาม การฟู หรือ ความฟู)

  1. พองตัวขึ้น, ขยายตัวนูนขึ้น
    ขนมสาลี่ฟูมาก
    ปลาดุกฟู
  2. อูดขึ้น
    แป้งหมักฟูขึ้น
  3. พองโป่งขึ้นมา
    ผมฟู
    ปุยนุ่นฟู
    สุนัขขนฟู
  4. (โบราณ) ลอย (บนน้ำ)

คำประสม แก้ไข

ภาษาอีสาน แก้ไข

รากศัพท์ แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *wuːᴬ (ลอย), จากภาษาจีนยุคกลาง (MC bjuw); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ฟู, ภาษาคำเมือง ᨼᩪ (ฟู), ภาษาเขิน ᨼᩪ (ฟู), ภาษาลาว ຟູ (ฟู), ภาษาไทลื้อ ᦝᦴ (ฟู), ภาษาไทใหญ่ ၽူး (ผู๊) หรือ ၾူး (ฝู๊), ภาษาอาหม 𑜇𑜥 (ผู), ภาษาจ้วง fouz, ภาษาปู้อี fux

การออกเสียง แก้ไข

คำกริยา แก้ไข

ฟู (คำอาการนาม การฟู)

  1. (อกรรม) ลอย (บนน้ำ)
    สัจจาผู้ชายนี้คือหินหนักหมื่น ถิ่มใส่น้ำจมหมิ่งแม่นบ่ฟู
    (กรุณาเพิ่มคำแปลของวลีหรือประโยคตัวอย่างนี้)