ดูเพิ่ม: ก่ะ

ภาษาไทย

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์กะ
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิง
ราชบัณฑิตยสภาka
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/kaʔ˨˩/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

กะ

  1. เครื่องหมายบอกทำนองสวด, ทำนองสวด
    กะมหาชาติคำหลวง
  2. รอบการเข้าเวร, ระยะเวลาที่ผลัดเปลี่ยนกันทำงาน
    กะแรก
    กะที่ 2
คำแปลภาษาอื่น
แก้ไข

คำกริยา

แก้ไข

กะ (คำอาการนาม การกะ)

  1. กำหนด, หมาย, คะเน, ประมาณ
คำแปลภาษาอื่น
แก้ไข
คำเกี่ยวข้อง
แก้ไข

รากศัพท์ 2

แก้ไข

คำอนุภาค

แก้ไข

กะ

  1. ใช้รวมกับคำวิเศษณ์ เช่น เหมือนกะ ราวกะ ถึงกะ

คำบุพบท

แก้ไข

กะ

  1. ใช้นำหน้าผู้รับพูดหรือรับบอก
    พี่พูดกะน้อง
    เขากล่าวกะฉัน
    เขาบอกกะท่าน

คำบุพบท

แก้ไข

กะ

  1. ใช้แทนคำว่า กับ
    ยายกะตา
    ยายกับตา
  2. ใช้แทนคำว่า แก่
    มีกะใจ
    มีแก่ใจ
คำเกี่ยวข้อง
แก้ไข
คำแปลภาษาอื่น
แก้ไข

รากศัพท์ 3

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

กะ

  1. ส่วนของสมอแบบหนึ่ง ลักษณะคล้ายแขนยื่นออกไป 2 ข้าง สำหรับช่วยยึดเกาะติดพื้นท้องน้ำ

รากศัพท์ 4

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

กะ

  1. ชื่อเงื่อนชนิดหนึ่ง ใช้สำหรับผูกเรือเพื่อคล้องกับที่ยึดหรือเสายึดเรือ เป็นเงื่อนที่แน่นแต่แก้ออกง่าย
คำเกี่ยวข้อง
แก้ไข

ภาษาคำเมือง

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข

คำกริยา

แก้ไข

กะ (คำอาการนาม ก๋ารกะ หรือ ก๋านกะ)

  1. (อกรรม) อีกรูปหนึ่งของ ᨠᩡ (กะ)

ภาษามอญแบบไทย

แก้ไข

รูปแบบอื่น

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากออสโตรเอเชียติกดั้งเดิม *kaʔ

การออกเสียง

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

กะ

  1. ปลา

อ้างอิง

แก้ไข
  • พวน รามัญวงศ์ (2005) พจนานุกรมมอญ-ไทย ฉบับมอญสยาม [Mon-Thai (Siamese) Dictionary], กรุงเทพฯ: มติชน, →ISBN

ภาษาเลอเวือะตะวันตก

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากปะหล่องดั้งเดิม *kaʔ, จากมอญ-เขมรดั้งเดิม *kaʔ

การออกเสียง

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

กะ

  1. ปลา

ภาษาเลอเวือะตะวันออก

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากปะหล่องดั้งเดิม *kaʔ, จากมอญ-เขมรดั้งเดิม *kaʔ

การออกเสียง

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

กะ

  1. ปลา