ดูเพิ่ม: ไท่ และ ไท้

ภาษาไทย

แก้ไข

รากศัพท์ 1

แก้ไข

สืบทอดจากไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *dajᴬ², จากไทดั้งเดิม *ɗwɤːjᴬ (อิสระ); ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᨴᩱ (ไท), ลาว ໄທ (ไท) หรือ ໄຕ (ไต) ที่เลิกใช้แล้ว, ไทลื้อ ᦺᦑ (ไท), ไทดำ ꪼꪕ (ไต̱), ไทใหญ่ တႆး (ไต๊), อ่ายตน တႝ (ตย์), พ่าเก တႝ (ตย์), อาหม 𑜄𑜩 (ตย์) ซึ่งเมื่อใช้เดี่ยว ๆ จะหมายถึงกลุ่มชาติพันธุ์ไทนั้น ๆ

รูปแบบอื่น

แก้ไข
  • ไต (พบได้ยาก)

การออกเสียง

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

ไท

  1. ชนเชื้อชาติไท มีหลายสาขาด้วยกัน เช่น ไทใหญ่ ไทดำ ไทขาว
  2. (โบราณ) ไทย, สยาม
    (ประชุมจารึกสยาม ภาคที่ 1 จารึกสุโขทัย)
  3. ความมีอิสระในตัว, ความไม่เป็นทาส
ลูกคำ
แก้ไข

ดูเพิ่ม

แก้ไข

รากศัพท์ 2

แก้ไข

รากศัพท์ 3

แก้ไข

ยืมมาจากอังกฤษ tie

การออกเสียง

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

ไท

  1. เน็กไท ผ้าที่ใช้ผูกคอเสื้อเชิ้ต มักผูกเป็นปมรูปสามเหลี่ยมให้มีชายยาวลงมาประมาณเอว
    พอเขาผูกไทแล้วดูดีขึ้นเป็นกอง
คำพ้องความ
แก้ไข

ภาษาคำเมือง

แก้ไข

คำวิสามานยนาม

แก้ไข

ไท

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨴᩱ (ไท)

คำนาม

แก้ไข

ไท

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨴᩱ (ไท)