ภาษาไทย แก้ไข

รูปแบบอื่น แก้ไข

รากศัพท์ แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *mɯəᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน เมือ, ภาษาลาว ເມືອ (เมือ), ภาษาคำเมือง ᨾᩮᩬᩥᩋ (เมอิอ), ภาษาเขิน ᨾᩮᩬᩨ (เมอื), ภาษาไทลื้อ ᦵᦙᦲ (เมี), ภาษาไทดำ ꪹꪣ (เม), ภาษาไทใหญ่ မိူဝ်း (เมิ๊ว), ภาษาไทใต้คง ᥛᥫᥰ (เม๊อ̂), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง mwez (เมือ), ภาษาจ้วง mwz

การออกเสียง แก้ไข

การแบ่งพยางค์เมือ
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงmʉʉa
ราชบัณฑิตยสภาmuea
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/mɯa̯˧/(สัมผัส)
ไฟล์เสียง

คำกริยา แก้ไข

เมือ

  1. (ล้าสมัย, อกรรม) ไป, กลับ

ภาษาคำเมือง แก้ไข

การออกเสียง แก้ไข

  • (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /mɯa˧˧/
  • (ส่วนใหญ่ในเชียงใหม่, ลำพูน, แม่ฮ่องสอน) คำอ่านภาษาไทย: เมือ
  • (ส่วนใหญ่ในเชียงราย, ลำปาง, พะเยา, แพร่, น่าน) คำอ่านภาษาไทย: เมอ

คำกริยา แก้ไข

เมือ (คำอาการนาม ก๋ารเมือ หรือ ก๋านเมือ)

  1. (อกรรม) อีกรูปหนึ่งของ ᨾᩮᩬᩥᩋ (เมอิอ)
    เมื่อใดจะเมือบ้าน
    เมื่อไหร่จะกลับบ้าน

คำพ้องความ แก้ไข

กลับ

ภาษาอีสาน แก้ไข

คำกริยา แก้ไข

เมือ (คำอาการนาม การเมือ)

  1. กลับ