สำนวน
ภาษาไทย
แก้ไขรากศัพท์
แก้ไขยืมมาจากภาษาเขมรเก่า សំន្វរ៑ (สํนฺวรฺ)
การออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | สำ-นวน | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sǎm-nuuan |
ราชบัณฑิตยสภา | sam-nuan | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /sam˩˩˦.nua̯n˧/(สัมผัส) |
คำนาม
แก้ไขสำนวน
- ถ้อยคำที่เรียบเรียง, โวหาร, บางทีก็ใช้ว่า สำนวนโวหาร
- สารคดีเรื่องนี้สำนวนโวหารดี
- ความเรียงเรื่องนี้สำนวนโวหารลุ่ม ๆ ดอน ๆ
- คดี
- ปิดสำนวน
- ถ้อยคำหรือข้อความที่กล่าวสืบต่อกันมาช้านานแล้ว มีความหมายไม่ตรงตามตัวหรือมีความหมายอื่นแฝงอยู่ เช่น สอนหนังสือสังฆราช รำไม่ดีโทษปี่โทษกลอง
- ถ้อยคำที่แสดงออกมาเป็นข้อความพิเศษเฉพาะภาษาหนึ่ง ๆ
- สำนวนฝรั่ง
- สำนวนบาลี
- ชั้นเชิงหรือท่วงทำนองในการแต่งหนังสือหรือพูด
- สำนวนเจ้าพระยาพระคลัง (หน)
- สำนวนยาขอบ
- สำนวนไม้ เมืองเดิม
คำลักษณนาม
แก้ไขสำนวน
- ใช้เรียกข้อความหรือบทประพันธ์รายหนึ่ง ๆ