คร้าน
ภาษาไทย
แก้ไขรากศัพท์
แก้ไขสืบทอดจากไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ɡraːnꟲ², จากจีนเก่า 懶 (OC *raːnʔ)[1]; ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᨣᩕ᩶ᩣ᩠ᨶ (คร้าน), เขิน ᨤ᩶ᩣ᩠ᨶ (ฅ้าน), ลาว ຄ້ານ (ค้าน), ไทลื้อ ᦆᦱᧃᧉ (ฅ้าน), ไทใหญ่ ၶၢၼ်ႉ (ข๎าน), ไทใต้คง ᥑᥣᥢᥳ (ฃ๎าน), จ้วงแบบจั่วเจียง kyanx/canx, จ้วง gyanx
การออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | คฺร้าน | |
---|---|---|
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | kráan |
ราชบัณฑิตยสภา | khran | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kʰraːn˦˥/(สัมผัส) |
คำคุณศัพท์
แก้ไขคร้าน (คำอาการนาม ความคร้าน)
ลูกคำ
แก้ไขอ้างอิง
แก้ไข- ↑ Pittayaporn, Pittayawat (2014), chapter Layers of Chinese Loanwords in Proto-Southwestern Tai as Evidence for the Dating of the Spread of Southwestern Tai, in MANUSYA: Journal of Humanities, volume 20 (special issue), Bangkok: Chulalongkorn University, ISSN 0859-9920, pages 47–68.