ภาษาไทลื้อ

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ɡraːnꟲ², จากภาษาจีนเก่า (OC *raːnʔ)[1]; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย คร้าน, ภาษาลาว ຄ້ານ (ค้าน), ภาษาอีสาน คร้าน, ภาษาคำเมือง ᨣᩕ᩶ᩣ᩠ᨶ (คร้าน), ภาษาเขิน ᨤ᩶ᩣ᩠ᨶ (ฅ้าน), ภาษาไทใหญ่ ၶၢၼ်ႉ (ข๎าน), ภาษาไทดำ ꪋ꫁ꪱꪙ (จ้̱าน), ภาษาไทใต้คง ᥑᥣᥢᥳ (ฃ๎าน)

การออกเสียง

แก้ไข

คำคุณศัพท์

แก้ไข

ᦆᦱᧃᧉ (ฅ้าน) (อักษรไทธรรม ᨤ᩶ᩣ᩠ᨶ, คำอาการนาม ᦩᦱᧄᦆᦱᧃᧉ)

  1. เกียจคร้าน
    ᦅᦳᧃ ᦙᧅ ᦊᦴᧈ ᦡᦻ ᦔᦲᧃ ᦅᦳᧃ ᦆᦱᧃᧉ
    คุน มัก หฺยู่ ดาย ปีน คุน ฅ้าน
    คนชอบอยู่เฉย เป็นคนเกียจคร้าน

อ้างอิง

แก้ไข
  1. Pittayaporn, Pittayawat (2014), chapter Layers of Chinese Loanwords in Proto-Southwestern Tai as Evidence for the Dating of the Spread of Southwestern Tai, in MANUSYA: Journal of Humanities, volume 20 (special issue), Bangkok: Chulalongkorn University, ISSN 0859-9920, pages 47–68.