ดูเพิ่ม: ၶၢၼ်, ၶၢၼ်း, และ ၶၢၼ်ႇ

ภาษาไทใหญ่ แก้ไข

รากศัพท์ แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ɡraːnꟲ², จากภาษาจีนเก่า (OC *raːnʔ)[1]; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย คร้าน, ภาษาลาว ຄ້ານ (ค้าน), ภาษาอีสาน คร้าน, ภาษาคำเมือง ᨣᩕ᩶ᩣ᩠ᨶ (คร้าน), ภาษาเขิน ᨤ᩶ᩣ᩠ᨶ (ฅ้าน), ภาษาไทลื้อ ᦆᦱᧃᧉ (ฅ้าน), ภาษาไทดำ ꪋ꫁ꪱꪙ (จ้̱าน), ภาษาไทใต้คง ᥑᥣᥢᥳ (ฃ๎าน)

การออกเสียง แก้ไข

คำคุณศัพท์ แก้ไข

ၶၢၼ်ႉ (ข๎าน) (คำอาการนาม တၢင်းၶၢၼ်ႉ)

  1. เกียจคร้าน มักใช้กับ ဢိူၼ် (เอิ๋น) ซึ่งแปลว่า โง่ เป็น ၶၢၼ်ႉဢိူၼ် (ค่านเอิ๋น)
    ၶဝ်ၼၼ်ႉၶၢၼ်ႉဢိူၼ်ၼႃႇ
    ขวนั๎นข๎านเอินน่า
    เขานั้นเกียจคร้านมาก
    ၵေႃႉဢၼ်ၶၢၼ်ႉဢၼ်ဢိူၼ်ၼၼ်ႉၸၢင်ႈႁွတ်ႈထိုင်တၢင်းဢၼ်ယၢၵ်ႈဢၼ်ၽၢၼ်
    ก๎อ̂อันข๎านอันเอินนั๎นจ้างห้อ̂ตถึงต๊างอันย้ากอันผาน
    คนเกียจคร้านนั้น ย่อมประสบกับความทุกข์ยาก

คำตรงข้าม แก้ไข

อ้างอิง แก้ไข

  1. Pittayaporn, Pittayawat (2014), chapter Layers of Chinese Loanwords in Proto-Southwestern Tai as Evidence for the Dating of the Spread of Southwestern Tai, in MANUSYA: Journal of Humanities, volume 20 (special issue), Bangkok: Chulalongkorn University, ISSN 0859-9920, pages 47–68.