𑜆𑜥
ภาษาอาหม
แก้ไขรากศัพท์ 1
แก้ไขเทียบภาษาจีนเก่า 牛 (OC *ŋʷɯ); ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨦ᩠ᩅᩫ (งว็), ภาษาอีสาน งัว, ภาษาลาว ງົວ (ง็ว), ภาษาไทลื้อ ᦷᦣ (โฮ) หรือ ᦷᦇ (โง), ภาษาไทดำ ꪉꪺ (งัว), ภาษาไทใหญ่ ငူဝ်း (งู๊ว) หรือ ဝူဝ်း (วู๊ว)
รูปแบบอื่น
แก้ไข- 𑜑𑜥 (หู)
คำนาม
แก้ไข𑜆𑜥 • (ปู)
รากศัพท์ 2
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *puːᴬ¹, จากภาษาไทดั้งเดิม *pɯwᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ปู, ภาษาลาว ປູ (ปู), ภาษาไทดำ ꪜꪴ (ปุ), ภาษาคำเมือง ᨸᩪ (ปู), ภาษาไทลื้อ ᦔᦴ (ปู), ภาษาไทใหญ่ ပူ (ปู), ภาษาจ้วง baeu, ภาษาปู้อี baul
คำนาม
แก้ไขรากศัพท์ 3
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *pɯwᴮ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ปู่, ภาษาลาว ປູ່ (ปู่), ภาษาไทลื้อ ᦔᦴᧈ (ปู่), ภาษาไทใหญ่ ပူႇ (ปู่), ภาษาปู้อี baus, ภาษาจ้วงแบบหนง buq,ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง buq, ภาษาจ้วง baeuq; เทียบภาษาไหลดั้งเดิม *pʰuːʔ, ภาษาออสโตรนีเซียนดั้งเดิม *apu