ภาษาเขิน

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทลื้อ ᦺᦅᧉ (ไค้), ภาษาไทใหญ่ ၵႆႉ (ไก๎), ภาษาไทใต้คง ᥐᥭᥳ (กั๎ย)

การออกเสียง

แก้ไข

คำคุณศัพท์

แก้ไข

ᨣᩱ᩶ (ไค้) (คำอาการนาม ᨣ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᨣᩱ᩶)

  1. ขยัน, ไม่ขี้เกียจ, ไม่อยู่เฉย

คำตรงข้าม

แก้ไข
ขยัน

ภาษาคำเมือง

แก้ไข

รูปแบบอื่น

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข

รากศัพท์ 1

แก้ไข

ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง (MC hojX); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ໄຄ້ (ไค้), ภาษาไทลื้อ ᦺᦅᧉ (ไค้)

คำนาม

แก้ไข

ᨣᩱ᩶ (ไค้)

  1. ปีกุน
    ᨸᩦᨣᩱ᩶
    ปีไค้
    ปีกุน
การใช้
แก้ไข

ล้านนานิยมใช้ช้าง ไม่ใช่หมู เป็นรูปลักษณ์

ดูเพิ่ม
แก้ไข

รากศัพท์ 2

แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ໄຄ້ (ไค้)

คำนาม

แก้ไข

ᨣᩱ᩶ (ไค้)

  1. ไกปืน
  2. นกสับปืน

รากศัพท์ 3

แก้ไข
รากศัพท์นี้ขาดหายหรือไม่สมบูรณ์ กรุณาช่วยเพิ่มเติม หรืออภิปรายที่หน้าพูดคุย

คำนาม

แก้ไข

ᨣᩱ᩶ (ไค้) (คำลักษณนาม ᨲ᩠ᩅᩫ)

  1. กระจง

รากศัพท์ 4

แก้ไข
รากศัพท์นี้ขาดหายหรือไม่สมบูรณ์ กรุณาช่วยเพิ่มเติม หรืออภิปรายที่หน้าพูดคุย

คำกริยา

แก้ไข

ᨣᩱ᩶ (ไค้) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᨣᩱ᩶)

  1. (สกรรม) งัด, แงะ
    คำพ้องความ: ᨦᩱ᩶ (ไง้)
  2. (สกรรม) เหนี่ยว

อ้างอิง

แก้ไข
  • พจนานุกรมภาษาล้านนา = The Lanna dictionary (พิมพ์ครั้งที่ 2). (พ.ศ. 2550). เชียงใหม่: สถาบันภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.

ภาษาไทลื้อ

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข

คำคุณศัพท์

แก้ไข

ᨣᩱ᩶ (ไค้) (คำอาการนาม ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᨣᩱ᩶)

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᦺᦅᧉ (ไค้)

คำนาม

แก้ไข

ᨣᩱ᩶ (ไค้)

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᦺᦅᧉ (ไค้)