ภาษาไทย

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์แปฺลง
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงbplɛɛng
ราชบัณฑิตยสภาplaeng
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/plɛːŋ˧/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1

แก้ไข

ไม่ทราบรากศัพท์

คำนาม

แก้ไข

แปลง

  1. ที่โล่งแห่งหนึ่ง ๆ
    คล้องช้างกลางแปลง
  2. พื้นที่ที่กำหนดไว้แห่งหนึ่ง ๆ
  3. (ล้าสมัย) ที่เป็นแอ่งมีโคลนเลนซึ่งคนหรือสัตว์ทำขึ้น
    แปลงหมู
    แปลงควาย

คำลักษณนาม

แก้ไข

แปลง

  1. เรียกพื้นที่ที่กำหนดไว้
    นา 2 แปลง

รากศัพท์ 2

แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᨸᩖᩯᨦ (ปแลง) หรือ ᨸᩯ᩠ᨦ (แปง), ลาว ແປງ (แปง), เขิน ᨸᩯ᩠ᨦ (แปง), ไทลื้อ ᦶᦔᧂ (แปง)

คำกริยา

แก้ไข

แปลง (คำอาการนาม การแปลง)

  1. (สกรรม) เปลี่ยนสิ่งเดิมให้ผิดแปลกออกไป
  2. (สกรรม) เปลี่ยนรูปทั้งหมดให้กลายเป็นอีกรูปหนึ่ง
  3. (สกรรม) เปลี่ยนจากรูปเดิมแต่บางส่วน
  4. (สกรรม) เปลี่ยนจากรูปเดิมโดยแก้ไขเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย
  5. (สกรรม) ทำ
    แปลงขวัญ
  6. (สกรรม, ไวยากรณ์, ภาษาศาสตร์) สร้างคำโดยการเปลี่ยนรากศัพท์ของอีกคำหนึ่งหรือโดยการเพิ่มหน่วยคำเติม เช่น อุปสรรคหรือปัจจัย
    แปลงคำ
ดูเพิ่ม
แก้ไข

ภาษาคำเมือง

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข

คำกริยา

แก้ไข

แปลง (คำอาการนาม การแปลง)

  1. (สกรรม) อีกรูปหนึ่งของ ᨸᩖᩯᨦ (ปแลง)

ภาษาปักษ์ใต้

แก้ไข

คำกริยา

แก้ไข

แปลง (คำอาการนาม ก่านแปลง)

  1. แผลง
    แปลงศร
    แผลงศร