อหิ
ภาษาไทย
แก้ไขรากศัพท์
แก้ไขยืมมาจากภาษาสันสกฤต अहि (อหิ) หรือ ภาษาบาลี อหิ
การออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | อะ-หิ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | à-hì |
ราชบัณฑิตยสภา | a-hi | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /ʔa˨˩.hiʔ˨˩/(สัมผัส) |
คำนาม
แก้ไขอหิ
ภาษาบาลี
แก้ไขรูปแบบอื่น
แก้ไขเขียนด้วยอักษรอื่น
รากศัพท์ 1
แก้ไขจากภาษาสันสกฤต/สันสกฤตพระเวท अहि (อหิ) จากภาษาอินโด-ยูโรเปียนดั้งเดิม *h₁ógʷʰis
คำนาม
แก้ไขอหิ ช.
การผันรูป
แก้ไขตารางการผันรูปของ "อหิ" (เพศชาย)
การก \ พจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
กรรตุการก (ปฐมา) | อหิ | อหโย หรือ อหี |
กรรมการก (ทุติยา) | อหิํ | อหโย หรือ อหี |
กรณการก (ตติยา) | อหินา | อหีหิ หรือ อหีภิ |
สัมปทานการก (จตุตถี) | อหิสฺส หรือ อหิโน | อหีนํ |
อปาทานการก (ปัญจมี) | อหิสฺมา หรือ อหิมฺหา | อหีหิ หรือ อหีภิ |
สัมพันธการก (ฉัฏฐี) | อหิสฺส หรือ อหิโน | อหีนํ |
อธิกรณการก (สัตตมี) | อหิสฺมิํ หรือ อหิมฺหิ | อหีสุ |
สัมโพธนการก (อาลปนะ) | อหิ | อหโย หรือ อหี |
รากศัพท์ 2
แก้ไขคำกริยา
แก้ไขอหิ (อสฺ ธาตุ + -หิ ปัญจมีวิภัตติ)
- บุรุษที่สอง เอกพจน์ มาลาสั่ง กรรตุวาจกของ อตฺถิ (“เป็น, อยู่, คือ”)
อาขยาต
แก้ไขอหิ
- (ตฺวํ อหิ) อันว่าท่านเป็นสิ, อยู่สิ