ช่าง
ภาษาไทย
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | ช่าง | ชั่ง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | châang | châng |
ราชบัณฑิตยสภา | chang | chang | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /t͡ɕʰaːŋ˥˩/(สัมผัส) | /t͡ɕʰaŋ˥˩/(สัมผัส) | |
ไฟล์เสียง |
รากศัพท์ 1
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ɟaːŋᴮ², จากภาษาจีนยุคกลาง 匠 (MC dzjangH); ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨩ᩵ᩣ᩠ᨦ (ช่าง), ภาษาเขิน ᨩ᩵ᩣ᩠ᨦ (ช่าง), ภาษาลาว ຊ່າງ (ซ่าง), ภาษาไทลื้อ ᦋᦱᧂᧈ (ช่าง), ภาษาไทใหญ่ ၸၢင်ႈ (จ้าง), ภาษาพ่าเก ꩡင် (จง์), ภาษาไทดำ ꪋ꪿ꪱꪉ (จ่̱าง), ภาษาอาหม 𑜋𑜂𑜫 (ฉง์), ภาษาจ้วง cangh, ภาษาเขมร ជាង (ชาง)
คำนาม
แก้ไขช่าง
- ผู้ชำนาญในการฝีมือหรือศิลปกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง
- ช่างตัดเสื้อ
- ช่างไม้
- ช่างทอง
- ช่างตัดผม
รากศัพท์ 2
แก้ไขคำกริยาวิเศษณ์
แก้ไขช่าง
- มีนิสัยชอบในทางใดทางหนึ่ง
- ช่างคิด
- ช่างพูด
- ช่างประดิษฐ์
- มีลักษณะโน้มไปในทางนั้น ๆ
- ช่างโง่จริง ๆ
- ช่างเก่งจริง ๆ
รากศัพท์ 3
แก้ไขคำกริยาวิเศษณ์
แก้ไขช่าง