ภาษาไทย

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

เทียบภาษาจีนยุคกลาง (MC hwon, “วิญญาณ”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຂວັນ (ขวัน), ภาษาไทลื้อ ᦧᧃ (ฃฺวัน), ภาษาไทดำ ꪄꪺꪙ (ฃัวน) หรือ ꪄꪫꪽ (ฃวัน), ภาษาไทขาว ꪄꪫꪽ หรือ ꪄꪮꪙ, ภาษาไทใหญ่ ၶႂၼ် (ขฺวัน) หรือ ၶွၼ် (ขอ̂น), ภาษาอาหม 𑜁𑜨𑜃𑜫 (ขอ̂น์), ภาษาจ้วง hoenz, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง kvaen; การสะกดคำปนเปื้อน

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์ขฺวัน
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงkwǎn
ราชบัณฑิตยสภาkhwan
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/kʰwan˩˩˦/(สัมผัส)

คำนาม

แก้ไข

ขวัญ

  1. ผมหรือขนที่ขึ้นเวียนเป็นก้นหอย
  2. มิ่งมงคล, สิริ, ความดี
  3. สิ่งที่ไม่มีตัวตน เชื่อกันว่ามีอยู่ประจำชีวิตของคนตั้งแต่เกิดมา ถ้าขวัญอยู่กับตัวก็เป็นสิริมงคล เป็นสุขสบายจิตใจมั่นคง ถ้าคนตกใจหรือเสียขวัญ ขวัญก็ออกจากร่างไป ทำให้คนนั้นได้รับผลร้ายต่าง ๆ และอนุโลมใช้ไปถึงสัตว์หรือสิ่งของบางอย่าง เช่น ช้าง ม้า ข้าว เรือน ฯลฯ ว่ามีขวัญเช่นเดียวกับคนเหมือนกัน
  4. โดยปริยายหมายความว่า ยอดกำลังใจ
    ขวัญเมือง
    สร้างขวัญให้ใจฮึกเหิม
  5. กำลังใจดี
  6. (โบราณ) วิญญาณ, ผี

คำเกี่ยวข้อง

แก้ไข