𑜀𑜩
ภาษาอาหม
แก้ไขรากศัพท์ 1
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *kajᴮ, จากภาษาจีนยุคกลาง 雞 (MC kej); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ไก่, ภาษาคำเมือง ᨠᩱ᩵ (ไก่), ภาษาลาว ໄກ່ (ไก่), ภาษาไทลื้อ ᦺᦂᧈ (ไก่), ภาษาไทดำ ꪼꪀ꪿ (ไก่), ภาษาไทใหญ่ ၵႆႇ (ไก่), ภาษาไทใต้คง ᥐᥭᥱ (กั่ย), ภาษาอ่ายตน ကႝ (กย์), ภาษาพ่าเก ကႝ (กย์), ภาษาปู้อี gais (ไก๋), ภาษาจ้วง gaeq (ไก๊), ภาษาแสก ไก
คำนาม
แก้ไข𑜀𑜩 • (กย์)
รากคำศัพท์ 2
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *k.lajᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ไกล, ภาษาลาว ໄກ (ไก), ภาษาไทลื้อ ᦺᦂ (ไก), ภาษาไทใหญ่ ၵႆ (ไก), ภาษาไทใต้คง ᥐᥭ (กัย), ภาษาจ้วง gyae
คำคุณศัพท์
แก้ไข𑜀𑜩 • (กย์)
รากคำศัพท์ 3
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *k.raɰꟲ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ใกล้, ภาษาคำเมือง ᨠᩖᩲ᩶ (กใล้) หรือ ᨠᩖᩱ᩶ (กไล้), ภาษาลาว ໃກ້ (ใก้) หรือ ໄກ້ (ไก้), ภาษาไทลื้อ ᦺᦂᧉ (ไก้), ภาษาไทใหญ่ ၵၢႆ (กาย), ภาษาจ้วง gyawj, ภาษาปู้อี jaec
รูปแบบอื่น
แก้ไข- 𑜀𑜧 (กว์)
คำคุณศัพท์
แก้ไข𑜀𑜩 • (กย์)