ภาษาเขิน

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຫຸມ (หุม), ภาษาคำเมือง ᩉᩩᨾ (หุม), ภาษาไทลื้อ ᦠᦳᧄ (หุม), ภาษาไทใหญ่ ႁူမ် (หูม)

การออกเสียง

แก้ไข

คำกริยา

แก้ไข

ᩉᩩᨾ (หุม) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᩉᩩᨾ)

  1. (สกรรม) ชอบ, นิยม, พอใจ, รักและหวงแหน

ลูกคำ

แก้ไข
ชอบ

ภาษาคำเมือง

แก้ไข

รูปแบบอื่น

แก้ไข
  • (ถอดอักษรและถอดเสียง) หุม

การออกเสียง

แก้ไข

รากศัพท์ 1

แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຫຸມ (หุม), ภาษาเขิน ᩉᩩᨾ (หุม), ภาษาไทลื้อ ᦠᦳᧄ (หุม), ภาษาไทใหญ่ ႁူမ် (หูม)

คำกริยา

แก้ไข

ᩉᩩᨾ (หุม) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᩉᩩᨾ)

  1. (สกรรม) ชอบ, นิยม, พอใจ, ชอบใจ, รักและหวงแหน, ชอบ (ในเชิงชู้สาว), ชอบมาก
ลูกคำ
แก้ไข
ชอบ

รากศัพท์ 2

แก้ไข
รากศัพท์นี้ขาดหายหรือไม่สมบูรณ์ กรุณาช่วยเพิ่มเติม หรืออภิปรายที่หน้าพูดคุย

คำกริยา

แก้ไข

ᩉᩩᨾ (หุม) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᩉᩩᨾ)

  1. (อกรรม) ระบมและขยายตัว (ใช้แก่บาดแผลเช่นฝี เป็นต้น)

อ้างอิง

แก้ไข
  • คาถาสาวหุม, Lannaworld.com, สืบค้นวันที่ 22 เมษายน 2555
  • พจนานุกรมภาษาล้านนา = The Lanna dictionary (พิมพ์ครั้งที่ 2). (พ.ศ. 2550). เชียงใหม่: สถาบันภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.