ᨳ᩠ᩅᩫ᩵
ภาษาเขิน
แก้ไขรากศัพท์
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *tʰuəᴮ¹, จากภาษาจีนยุคกลาง 豆 (MC duwH); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ถั่ว, ภาษาคำเมือง ᨳ᩠ᩅᩫ᩵ (ถว็่), ภาษาลาว ຖົ່ວ (ถ็่ว), ภาษาไทลื้อ ᦷᦏᧈ (โถ่), ภาษาไทดำ ꪖ꪿ꪺ (ถั่ว), ภาษาไทขาว ꪖꪺꫀ, ภาษาไทใหญ่ ထူဝ်ႇ (ถู่ว), ภาษาไทใต้คง ᥗᥨᥝᥱ (โถ่ว), ภาษาพ่าเก ထုဝ် (ถุว์), ภาษาอาหม 𑜌𑜥 (ถู) (ในคำ 𑜉𑜀𑜫𑜌𑜥 (มก์ถู))
การออกเสียง
แก้ไข- (เชียงตุง) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /tʰoː˨˨/
คำนาม
แก้ไขᨳ᩠ᩅᩫ᩵ (ถว็่)
ภาษาคำเมือง
แก้ไขรากศัพท์
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *tʰuəᴮ¹, จากภาษาจีนยุคกลาง 豆 (MC duwH); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ถั่ว, ภาษาเขิน ᨳ᩠ᩅᩫ᩵ (ถว็่), ภาษาลาว ຖົ່ວ (ถ็่ว), ภาษาไทลื้อ ᦷᦏᧈ (โถ่), ภาษาไทดำ ꪖ꪿ꪺ (ถั่ว), ภาษาไทขาว ꪖꪺꫀ, ภาษาไทใหญ่ ထူဝ်ႇ (ถู่ว), ภาษาไทใต้คง ᥗᥨᥝᥱ (โถ่ว), ภาษาพ่าเก ထုဝ် (ถุว์), ภาษาอาหม 𑜌𑜥 (ถู) (ในคำ 𑜉𑜀𑜫𑜌𑜥 (มก์ถู))
คำนาม
แก้ไขᨳ᩠ᩅᩫ᩵ (ถว็่)