မၢၵ်ႇ
ดูเพิ่ม: မၢၵ်ႈ
ภาษาไทใหญ่
แก้ไขรูปแบบอื่น
แก้ไข- (ถิ่นใต้) ဝၢၵ်ႇ (ว่าก)
รากศัพท์
แก้ไขสืบทอดจากไทดั้งเดิม *ʰmaːkᴰ (“ผลไม้”); ร่วมเชื้อสายกับไทย หมาก, ลาว ໝາກ (หมาก), ไทลื้อ ᦖᦱᧅ (หฺมาก), ไทดำ ꪢꪱꪀ (หฺมาก), จ้วง mak
การออกเสียง
แก้ไข- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /maːk̚˩/
- เทียบเสียงภาษาไทยโดยประมาณ: หฺม่าก
- สัมผัส: -aːk̚
คำนาม
แก้ไขမၢၵ်ႇ • (ม่าก)
- หมาก, ผลไม้
- မၢၵ်ႇမႆႉ
- ม่ากไม๎
- ผลไม้ (ใช้คู่กับ မႆႉ)
- กลุ่มของโรคที่มีรอยโรคเป็นตุ่ม ผื่น ออกมาตามผิวหนัง
- မၢၵ်ႇလူင်
- ม่ากลูง
- ฝีดาษ
การใช้
แก้ไขใช้นำหน้าชื่อวัตถุ สิ่งของ ที่มีลักษณะกลม มน หรือนำหน้าชื่อผลของพืชผัก และผลไม้ เพื่อแสดงลักษณะทางไวยากรณ์ บ่งบอกประเภทของชื่อนั้น ๆ ตัวอย่างเช่น[1]
- မၢၵ်ႇသၢင်းၽေႃး
- ม่ากส๊างผ๊อ̂
- มะละกอ
- မၢၵ်ႇၼွႆး
- ม่ากน๊อ̂ย
- บวบ
- မၢၵ်ႇႁိၼ်
- ม่ากหิน
- หิน
- မၢၵ်ႇလၼ်း
- ม่ากลั๊น
- ไต
คำกริยา
แก้ไขမၢၵ်ႇ • (ม่าก) (คำอาการนาม လွင်ႈမၢၵ်ႇ)
อ้างอิง
แก้ไข- ↑ อัญชลี สิงห์น้อย วงศ์วัฒนา (1 มีนาคม 2018), chapter การประสมสร้างคำในภาษาไทใหญ่ : ไวยากรณ์ การสื่อสาร และการกลายเป็นคำไวยากรณ์, in (please provide the title of the work)[1] (PDF), ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, archived from the original on 2018-04-02, retrieved 2020-8-21, pages p. 8