ดูเพิ่ม: เสก

ภาษาไทย

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์
{ไม่ตามอักขรวิธี; เสียงสระสั้น}
เสิ็ก
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงsə̀k
ราชบัณฑิตยสภาsoek
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/sɤk̚˨˩/(สัมผัส)

คำนาม

แก้ไข

เสิก

  1. รูปที่เลิกใช้ของ ศึก

ภาษาอีสาน

แก้ไข

รากศัพท์ 1

แก้ไข

สืบทอดจากไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *sɤkᴰ¹ˢ (ศัตรู; สงคราม)[1], จากจีนเก่า (OC *zɯːɡ, “โจร”)[1]; ร่วมเชื้อสายกับไทย ศึก, คำเมือง ᩈᩮᩥᩢ᩠ᨠ (เสิัก), ลาว ເສິກ (เสิก), ไทลื้อ ᦵᦉᦲᧅ (เสีก), ไทใหญ่ သိုၵ်း (สึ๊ก), อาหม 𑜏𑜢𑜤𑜀𑜫 (สึก์)

คำนาม

แก้ไข

เสิก

  1. ศึก

รากศัพท์ 2

แก้ไข

ยืมมาจากเขมรเก่า *សិក (*สิก); ร่วมเชื้อสายกับเขมร សឹក (สึก), ไทย สึก, ไทลื้อ ᦉᦹᧅ (สืก)

คำกริยา

แก้ไข

เสิก (คำอาการนาม การเสิก)

  1. สึก (ออกจากการเป็นพระ)

อ้างอิง

แก้ไข
  1. 1.0 1.1 Pittayaporn, Pittayawat (2014), chapter Layers of Chinese Loanwords in Proto-Southwestern Tai as Evidence for the Dating of the Spread of Southwestern Tai, in MANUSYA: Journal of Humanities, volume 20 (special issue), Bangkok: Chulalongkorn University, ISSN 0859-9920, pages 47–68.