ภาษาละติน

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากอิตาลิกดั้งเดิม *nowos, จากอินโด-ยูโรเปียนดั้งเดิม *néwos. ร่วมเชื้อสายกับอังกฤษเก่า nīwe (ภาษาอังกฤษ new), ภาษากรีกโบราณ νέος (néos), สลาวิกดั้งเดิม *novъ, และภาษาสันสกฤต नव (náva)

การออกเสียง

แก้ไข

คำคุณศัพท์

แก้ไข

novus (หญิง nova, กลาง novum, ขั้นกว่า novior, ขั้นสุด novissimus, กริยาวิเศษณ์ novē หรือ noviter); คำคุณศัพท์การผันที่หนึ่ง/สอง

  1. ใหม่
  2. สด, หนุ่ม
  3. ล่าสุด
  4. ผิดปกติ, แปลก, ไม่ธรรมดา

การผันรูป

แก้ไข

คำคุณศัพท์การผันที่หนึ่ง/สอง

จำนวน เอกพจน์ พหูพจน์
การก / เพศ ชาย หญิง กลาง ชาย หญิง กลาง
กรรตุการก novus nova novum novī novae nova
สัมพันธการก novī novae novī novōrum novārum novōrum
สัมปทานการก novō novō novīs
กรรมการก novum novam novum novōs novās nova
อปาทานการก novō novā novō novīs
สัมโพธนการก nove nova novum novī novae nova

ลูกคำ

แก้ไข

คำสืบทอด

แก้ไข
  • Aromanian: nãu, nou
  • อัสตูเรียส: nuevu, ñuevu
  • กาตาลา: nou
  • คอร์ซิกา: novu
  • แดลเมเชีย: nuf
  • เอซเตรมาดูรา: nuevu
  • ฟร็องโก-พรอว็องส์: nôf, nouveu
  • ฝรั่งเศส: neuf, nouveau
  • ฟรียูลี: gnûf, gnûv
  • กาลิเซีย: novo
  • ครีโอลกินี-บิสเซา: nobu, novu
  • Istriot: nuo
  • อิตาลี: novo, nuovo
  • ครีโอลกาบูเวร์ดี: nobu
  • นอร์มัน: neu, neuf
  • ลาดิน: nuef
  • ลาดิโน: muevo, מואיבﬞו
  • มีรังดา: nuobo
  • นาโปลี: nuovo
  • อุตซิตา: nòu, nau
  • ปาเปียเมนตู: nobo
  • โปรตุเกส: novo
  • โรมาเนีย: nou
  • โรมานช์: nov, niev, nouv
  • ซาร์ดิเนีย: nobu, nou, novu
  • ซิซิลี: novu, nova
  • สเปน: nuevo
  • เวเนโต: novo, nóvo
  • วัลลูน: noû

อ้างอิง

แก้ไข
  • novus”, in Charlton T. Lewis and Charles Short (1879) A Latin Dictionary, Oxford: Clarendon Press
  • novus”, in Charlton T. Lewis (1891) An Elementary Latin Dictionary, New York: Harper & Brothers
  • novus in Gaffiot, Félix (1934) Dictionnaire illustré latin-français, Hachette
  • Carl Meißner; Henry William Auden (1894) Latin Phrase-Book[1], London: Macmillan and Co.
    • to enter on a new method: novam rationem ingredi
    • a parvenu (a man no member of whose family has held curule office): homo novus
    • a demagogue, agitator: plebis dux, vulgi turbator, civis turbulentus, civis rerum novarum cupidus
    • revolutionists: homines seditiosi, turbulenti or novarum rerum cupidi
    • to hold revolutionary opinions: novarum rerum cupidum esse
    • (ambiguous) to introduce a new word into the Latin language: inducere novum verbum in latinam linguam
    • (ambiguous) to hold revolutionary opinions: novis rebus studere