ᨠᩮᩢ᩶ᩣ
ภาษาเขิน
แก้ไขรากศัพท์
แก้ไขสืบทอดจากไทดั้งเดิม *kɤwꟲ, จากจีนยุคกลาง 九 (MC kjuwX), จากจีนเก่า 九 (OC *kuʔ), จากซีโน-ทิเบตันดั้งเดิม *d/s-kəw; ร่วมเชื้อสายกับไทย เก้า, ลาว ເກົ້າ (เก็้า), คำเมือง ᨠᩮᩢ᩶ᩣ (เกั้า), ไทลื้อ ᦂᧁᧉ (เก้า), ไทดำ ꪹꪀ꫁ꪱ (เก้า), ไทใหญ่ ၵဝ်ႈ (ก้ว), ไทใต้คง ᥐᥝᥲ (เก้า), อาหม 𑜀𑜧 (กว์), ปู้อี guz, จ้วง gouj, แสก กู̂
การออกเสียง
แก้ไข- (เชียงตุง) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /kaw˧˧ʔ/
เลข
แก้ไขᨠᩮᩢ᩶ᩣ (เกั้า)
ภาษาคำเมือง
แก้ไขรูปแบบอื่น
แก้ไข- (ถอดอักษรและถอดเสียง) เก้า
รากศัพท์
แก้ไขสืบทอดจากไทดั้งเดิม *kɤwꟲ, จากจีนยุคกลาง 九 (MC kjuwX), จากจีนเก่า 九 (OC *kuʔ), จากซีโน-ทิเบตันดั้งเดิม *d/s-kəw; ร่วมเชื้อสายกับไทย เก้า, ลาว ເກົ້າ (เก็้า), เขิน ᨠᩮᩢ᩶ᩣ (เกั้า), ไทลื้อ ᦂᧁᧉ (เก้า), ไทดำ ꪹꪀ꫁ꪱ (เก้า), ไทใหญ่ ၵဝ်ႈ (ก้ว), ไทใต้คง ᥐᥝᥲ (เก้า), อาหม 𑜀𑜧 (กว์), ปู้อี guz, จ้วง gouj, แสก กู̂
การออกเสียง
แก้ไข- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /kaw˦˦ʔ/
- (น่าน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /kaw˦˦ʔ/
เลข
แก้ไขᨠᩮᩢ᩶ᩣ (เกั้า)