ဝွၵ်ႇ
ดูเพิ่ม: ဝွၵ်ႈ
ภาษาไทใหญ่
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไข- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /wɔk̚˩/
- เทียบเสียงภาษาไทยโดยประมาณ: หฺว่อก
- สัมผัส: -ɔk̚
- หวอก
รากศัพท์ 1
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ɓloːkᴰ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ดอก, ภาษาคำเมือง ᨯᩬᨠ (ดอก), ภาษาลาว ດອກ (ดอก), ภาษาไทลื้อ ᦡᦸᧅᧈ (ด่อ̂ก), ภาษาไทดำ ꪚꪮꪀ (บอก), ꪒꪮꪀ (ดอก), ภาษาไทใต้คง ᥛᥩᥐᥱ (ม่อ̂ก), ภาษาพ่าเก မွက် (มอ̂ก์), ภาษาอาหม 𑜉𑜨𑜀𑜫 (มอ̂ก์), 𑜈𑜨𑜀𑜫 (บอ̂ก์), ภาษาจ้วงแบบหนง ndog
คำนาม
แก้ไขဝွၵ်ႇ • (ว่อ̂ก)
- (ถิ่นใต้) อีกรูปหนึ่งของ မွၵ်ႇ (ม่อ̂ก, “ดอก”)
คำกริยา
แก้ไขဝွၵ်ႇ • (ว่อ̂ก) (คำอาการนาม လွင်ႈဝွၵ်ႇ)
- (ถิ่นใต้) อีกรูปหนึ่งของ မွၵ်ႇ (ม่อ̂ก, “ออกดอก”)
รากศัพท์ 2
แก้ไขร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย บอก, ภาษาคำเมือง ᨷᩬᨠ (บอก), ภาษาลาว ບອກ (บอก), ภาษาไทลื้อ ᦢᦸᧅᧈ (บ่อ̂ก) หรือ ᦢᦸᧅ (บอ̂ก), ภาษาไทดำ ꪚꪮꪀ (บอก), ภาษาอาหม 𑜈𑜨𑜀𑜫 (บอ̂ก์)
คำกริยา
แก้ไขဝွၵ်ႇ • (ว่อ̂ก) (คำอาการนาม လွင်ႈဝွၵ်ႇ)
- (ถิ่นใต้) อีกรูปหนึ่งของ မွၵ်ႇ (ม่อ̂ก, “บอก”)