ภาษาไทใหญ่ แก้ไข

การออกเสียง แก้ไข

รากศัพท์ 1 แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ɲɯŋᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ยิง, ภาษาลาว ຍິງ (ยิง), ภาษาอีสาน ยิง, ภาษาคำเมือง ᨿᩥ᩠ᨦ (ยิง), ภาษาเขิน ᨿᩥ᩠ᨦ (ยิง), ภาษาไทดำ ꪑꪲꪉ (ญิง, เล็ง), ภาษาไทใต้คง ᥕᥥᥒᥰ (เย๊ง, เล็ง) หรือ ᥕᥫᥒᥰ (เย๊อ̂ง, เล็ง), ภาษาอาหม 𑜊𑜢𑜤𑜂𑜫 (ยึง์, เล็ง), ภาษาจ้วง nyingz หรือ ningz, ภาษาแสก ญิ๊ง

คำกริยา แก้ไข

ယိူင်း (เยิ๊ง) (คำอาการนาม လွင်ႈယိူင်း)

  1. (สกรรม) เล็ง
    ႁဝ်းတေလႆႈယိူင်းဢွၼ်တၢင်းၵွၼ်ႇ ဢမ်ႇၸႂ်ႈယိုဝ်းဢွၼ်တၢင်းၸင်ႇယိူင်း
    ห๊วเตไล้เยิ๊งออ̂นต๊างก่อ̂น อั่มใจ้ยึ๊วออ̂นต๊างจั่งเยิ๊ง.
    เราต้องเล็งก่อน ไม่ใช่ยิงก่อนแล้วค่อยเล็ง

รากศัพท์ 2 แก้ไข

ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง (MC yang, “แพะ”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เยือง, ภาษาลาว ເຍືອງ (เยือง), ภาษาคำเมือง ᨿᩮᩬᩥᨦ (เยอิง), ภาษาเขิน ᨿᩮᩨ᩠ᨦ (เยืง), ภาษาไทลื้อ ᦵᦍᦲᧂ (เยีง)

คำนาม แก้ไข

ယိူင်း (เยิ๊ง) (คำลักษณนาม တူဝ်)

  1. เยือง, เลียงผา