ดูเพิ่ม: เซ้ง

ภาษาไทย แก้ไข

การออกเสียง แก้ไข

การแบ่งพยางค์เซ็ง
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงseng
ราชบัณฑิตยสภาseng
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/seŋ˧/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1 แก้ไข

ยืมมาจากภาษาแต้จิ๋ว (cêng1, ใส; บริสุทธิ์; สะอาด) โดยใช้บรรยายรสชาติเป็น รสใส รสอ่อน รสไม่จัด จืดชืด[1]

คำคุณศัพท์ แก้ไข

เซ็ง (คำอาการนาม ความเซ็ง)

  1. ชืด, จืดชืด, หมดรส (ใช้เรียกสิ่งที่ควรจะบริโภคหรือจัดทำในเวลาหนึ่ง แต่ทิ้งไว้นานเกินควร)
  2. หมดความตื่นเต้น

รากศัพท์ 2 แก้ไข

คำกริยา แก้ไข

เซ็ง

  1. รูปที่สะกดผิดของ เซ้ง

อ้างอิง แก้ไข

  1. พิรัชพร อึ้งอรุณ, เมธาวี ยุทธพงษ์ธาดา, และโกวิทย์ พิมพวง. (2562). “เซ็ง” จากอาหารสู่อารมณ์. วารสารภาษาและภาษาศาสตร์ ปีที่ 37 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2562). กรุงเทพฯ: คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. [1]