สำเพ็ง
ภาษาไทย
แก้ไขรูปแบบอื่น
แก้ไข- (เลิกใช้) สามเพ็ง
รากศัพท์
แก้ไขไม่ทราบแน่ชัด ซึ่งมีข้อสันนิษฐานหลายประการว่า:
- แผลงมาจาก สามแพร่ง[1]
- แผลงมาจาก สามแผ่น ซึ่ง "แผ่น" ย่อมาจาก แผ่นดิน[1]
- แผลงมาจาก ลำเพ็ง[1]
- แผลงมาจาก สามปลื้ม ซึ่งเป็นชื่อวัดในบริเวณนั้น[1]
- จากภาษาแต้จิ๋ว 三平/三平 (sam1 pêng5, “ศานติทั้งสาม”) ซึ่งอาจจะเป็นเพียงการทับศัพท์
- จากภาษามอญ [Term?] (“เจ้าขุนมูลนาย”)[2]
- จากภาษาเขมร សម្ពលី (สมฺพลี, “แม่สื่อ, แม่เล้า”)[3]
การออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | สำ-เพ็ง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sǎm-peng |
ราชบัณฑิตยสภา | sam-pheng | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /sam˩˩˦.pʰeŋ˧/(สัมผัส) |
คำนาม
แก้ไขสำเพ็ง
คำพ้องความ
แก้ไข- ดูที่ อรรถาภิธาน:โสเภณี
คำวิสามานยนาม
แก้ไขสำเพ็ง
- (โบราณ) ย่านหญิงโสเภณีในสมัยอยุธยา
- ย่านหญิงโสเภณีในกรุงเทพมหานคร, ปัจจุบันได้ชื่อว่าเป็นย่านการค้าที่มีของขายทุกอย่าง
อ้างอิง
แก้ไข- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 chapter สำเนาที่เก็บถาวร, in (please provide the title of the work)[1], accessed 2020-07-25, archived from the original on 2020-07-25
- ↑ chapter ‘ขรรค์ชัย-สุจิตต์’ ทอดน่อง ‘ล้ง 1919’ เปิดตำนานชุมชนจีน ‘กฤช’ พากินพระรามลงสรง (คลิป), in มติชน[2], 2020-01-14, retrieved 2020-02-05
- ↑ จิตร ภูมิศักดิ์. (2550). โฉมหน้าศักดินาไทย, กรุงเทพฯ : ศรีปัญญา, พิมพ์ครั้งที่ 9, ISBN 9789748075242. หน้า 213, 240