มิ่ง
ภาษาไทย
แก้ไขรากศัพท์
แก้ไขจากจีนยุคกลาง 命 (MC mjaengH, “ชีวิต, ชะตา”); ร่วมเชื้อสายกับลาว ມິ່ງ (มิ่ง), คำเมือง ᨾᩥ᩠᩵ᨦ (มิ่ง), ไทลื้อ ᦙᦲᧂᧈ (มี่ง), ไทใหญ่ မိင်ႈ (มิ้ง, “โชค, ชะตา”), อาหม 𑜉𑜢𑜂𑜫 (มิง์, “โชค, ชะตา”), สุ่ย mingh (“โชค, ชะตา”)
พบการใช้งานอย่างน้อยตั้งแต่ พ.ศ. 1943–1962 ในจารึกวัดหินตั้ง[1] เสฐียรโกเศศ คาดว่า เดิมที “มิ่ง” หมายถึง “ชีวิต” แต่ถูกแทนที่ด้วยคำว่า ชีวิต และต่อมาด้วยคำว่า สิริ[2]
การออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | มิ่ง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | mîng |
ราชบัณฑิตยสภา | ming | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /miŋ˥˩/(สัมผัส) |
คำนาม
แก้ไขมิ่ง