ภาษาจ้วง

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ɲepᴰ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เย็บ, ภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨿᩥᨷ (หยิบ), ภาษาลาว ຫຍິບ (หยิบ), ภาษาไทลื้อ ᦵᦊᧇ (เหฺยบ), ภาษาไทดำ ꪑꪲꪚ (ญิบ), ภาษาไทขาว ꪉꪲꪚ, ภาษาไทใหญ่ ယဵပ်ႉ (เย๎ป), ภาษาปู้อี nyib

การออกเสียง

แก้ไข

(จ้วงมาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /ɲip˧/

  • เลขวรรณยุกต์: nyib8
  • การแบ่งพยางค์: nyib
  • คำอ่านภาษาไทย (ประมาณ): ญิปสามัญ

คำกริยา

แก้ไข

nyib (อักขรวิธีปี 1957–1982 nyib)

  1. เย็บ

ภาษาปู้อี

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ɲepᴰ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เย็บ, ภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨿᩥᨷ (หยิบ), ภาษาลาว ຫຍິບ (หยิบ), ภาษาไทลื้อ ᦵᦊᧇ (เหฺยบ), ภาษาไทดำ ꪑꪲꪚ (ญิบ), ภาษาไทขาว ꪉꪲꪚ, ภาษาไทใหญ่ ယဵပ်ႉ (เย๎ป), ภาษาจ้วง nyib

คำกริยา

แก้ไข

nyib

  1. เย็บ