ภาษาเขิน

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับไทย มลัก หรือ มัก, อีสาน มัก, ลาว ມັກ (มัก), คำเมือง ᨾᩢ᩠ᨠ (มัก), ไทลื้อ ᦙᧅ (มัก), ไทดำ ꪣꪰꪀ (มัก), ไทขาว ꪝꪰꪀ, ไทใหญ่ မၵ်ႉ (มั๎ก), ไทใต้คง ᥛᥐ (มัก)

การออกเสียง

แก้ไข

คำกริยา

แก้ไข

ᨾᩢ᩠ᨠ (มัก) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᨾᩢ᩠ᨠ หรือ ᨣ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᨾᩢ᩠ᨠ)

  1. (อกรรม, สกรรม) มัก, ชอบ, พอใจ, ถูกใจ

คำพ้องความ

แก้ไข
ชอบ

อ้างอิง

แก้ไข
  • ᨩᩣ᩠ᨿᨪᩮᨩᩮ᩠ᨾ. (n.d.). ᩋᨽᩥᨵᩤᨶᩈᩢ᩠ᨷᩅᩰᩉᩣ᩠ᩁᨸᩖᩯᨽᩣᩈᩣᨡᩨ᩠ᨶ.

ภาษาคำเมือง

แก้ไข

รูปแบบอื่น

แก้ไข
  • (ถอดอักษรและถอดเสียง) มัก

รากศัพท์

แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับไทย มลัก หรือ มัก, อีสาน มัก, ลาว ມັກ (มัก), เขิน ᨾᩢ᩠ᨠ (มัก), ไทลื้อ ᦙᧅ (มัก), ไทดำ ꪣꪰꪀ (มัก), ไทขาว ꪣꪰꪀ, ไทใหญ่ မၵ်ႉ (มั๎ก), ไทใต้คง ᥛᥐ (มัก)

การออกเสียง

แก้ไข

คำกริยา

แก้ไข

ᨾᩢ᩠ᨠ (มัก) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᨾᩢ᩠ᨠ หรือ ᨣᩤᩴᨾᩢ᩠ᨠ หรือ ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᨾᩢ᩠ᨠ)

  1. (อกรรม, สกรรม) มัก, ชอบ, พอใจ, ถูกใจ

อ้างอิง

แก้ไข
  • พจนานุกรมภาษาล้านนา = The Lanna dictionary (พิมพ์ครั้งที่ 2). (พ.ศ. 2550). เชียงใหม่: สถาบันภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.