ภาษาเขิน แก้ไข

รากศัพท์ แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *daːŋᴬ²; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ทาง, ภาษาคำเมือง ᨴᩤ᩠ᨦ (ทาง), ภาษาลาว ທາງ (ทาง), ภาษาไทลื้อ ᦑᦱᧂ (ทาง), ภาษาไทดำ ꪕꪱꪉ (ต̱าง), ภาษาไทใหญ่ တၢင်း (ต๊าง), ภาษาไทใต้คง ᥖᥣᥒᥰ (ต๊าง), ภาษาอาหม 𑜄𑜂𑜫 (ตง์)

คำนาม แก้ไข

ᨴᩤ᩠ᨦ (ทาง)

  1. ทาง

คำพ้องความ แก้ไข

ภาษาคำเมือง แก้ไข

รูปแบบอื่น แก้ไข

รากศัพท์ แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *daːŋᴬ²; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ทาง, ภาษาเขิน ᨴᩤ᩠ᨦ (ทาง), ภาษาลาว ທາງ (ทาง), ภาษาไทลื้อ ᦑᦱᧂ (ทาง), ภาษาไทดำ ꪕꪱꪉ (ต̱าง), ภาษาไทใหญ่ တၢင်း (ต๊าง), ภาษาไทใต้คง ᥖᥣᥒᥰ (ต๊าง), ภาษาอาหม 𑜄𑜂𑜫 (ตง์)

การออกเสียง แก้ไข

คำนาม แก้ไข

ᨴᩤ᩠ᨦ (ทาง)

  1. ทาง (ช่อง; แถว, ถิ่น; ข้าง, ฝ่าย; โอกาส)
  2. แนวทาง

คำพ้องความ แก้ไข

ทาง

อ้างอิง แก้ไข

  • พจนานุกรมภาษาล้านนา = The Lanna dictionary (พิมพ์ครั้งที่ 2). (พ.ศ. 2550). เชียงใหม่: สถาบันภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.