ภาษาเขิน แก้ไข

รากศัพท์ แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *tʰaːꟲ¹; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ท่า, ภาษาคำเมือง ᨳ᩶ᩣ (ถ้า), ภาษาอีสาน ถ้า หรือ ถ่า, ภาษาลาว ຖ້າ (ถ้า), ภาษาไทลื้อ ᦏᦱᧉ (ถ้า), ภาษาไทใหญ่ ထႃႈ (ถ้า), ภาษาพ่าเก ထႃ (ถา), ภาษาอาหม 𑜌𑜠 (ถะ), 𑜌𑜡 (ถา), หรือ 𑜌𑜡𑜠 (ถาะ)

การออกเสียง แก้ไข

คำกริยา แก้ไข

ᨳ᩶ᩣ (ถ้า) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᨳ᩶ᩣ)

  1. (อกรรม, สกรรม) รอ

คำพ้องความ แก้ไข

รอ

คำสันธาน แก้ไข

ᨳ᩶ᩣ (ถ้า)

  1. ถ้า

ภาษาคำเมือง แก้ไข

รูปแบบอื่น แก้ไข

  • (ถอดอักษรและถอดเสียง) ถ้า

การออกเสียง แก้ไข

รากศัพท์ 1 แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *tʰaːꟲ¹; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ท่า, ภาษาเขิน ᨳ᩶ᩣ (ถ้า), ภาษาอีสาน ถ้า หรือ ถ่า, ภาษาลาว ຖ້າ (ถ้า), ภาษาไทลื้อ ᦏᦱᧉ (ถ้า), ภาษาไทใหญ่ ထႃႈ (ถ้า), ภาษาพ่าเก ထႃ (ถา), ภาษาอาหม 𑜌𑜠 (ถะ), 𑜌𑜡 (ถา), หรือ 𑜌𑜡𑜠 (ถาะ)

คำกริยา แก้ไข

ᨳ᩶ᩣ (ถ้า) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᨳ᩶ᩣ)

  1. (อกรรม, สกรรม) รอ, คอย
คำพ้องความ แก้ไข
รอ

รากศัพท์ 2 แก้ไข

คำสันธาน แก้ไข

ᨳ᩶ᩣ (ถ้า)

  1. ถ้า

อ้างอิง แก้ไข

  • พจนานุกรมภาษาล้านนา = The Lanna dictionary (พิมพ์ครั้งที่ 2). (พ.ศ. 2550). เชียงใหม่: สถาบันภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.