ᦡᦲᧃᧉ
ภาษาไทลื้อ
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไข- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /din˩˧/
รากศัพท์ 1
แก้ไขร่วมเชื้อสายกับไทย เล่น, ลาว ຫຼິ້ນ (หลิ้น) หรือ ເຫຼັ້ນ (เหลั้น), คำเมือง ᩉᩖᩮ᩠᩶ᨶ (หเล้น), เขิน ᩉᩖᩮ᩠᩶ᨶ (หเล้น), ไทใหญ่ လဵၼ်ႈ (เล้น)
รูปแบบอื่น
แก้ไข- ᦜᦲᧃᧉ (หฺลี้น)
คำกริยา
แก้ไขᦡᦲᧃᧉ (ดี้น) (คำอาการนาม ᦂᦱᧃᦡᦲᧃᧉ)
ลูกคำ
แก้ไขเล่น
- ᦷᦆᦡᦲᧃᧉ (โฅดี้น)
- ᦡᦲᦡᦲᧃᧉ (ดีดี้น)
- ᦃᦸᧂᦡᦲᧃᧉ (ฃอ̂งดี้น)
- ᦍᦸᦰᦡᦲᧃᧉ (ยอ̂ะดี้น)
- ᦡᦲᧃᧉᦋᦴᧉ (ดี้นชู้)
- ᦡᦲᧃᧉᦵᦢᧉ (ดี้นเบ้)
- ᦶᦀᧁᧈᦡᦲᧃᧉ (แอ่วดี้น)
- ᦆᦱᧁᧈᦡᦲᧃᧉ (ฅ่าวดี้น)
| width=1% | |bgcolor="#F9F9F9" valign=top align=left width=48%|
- ᦊᦸᧅᧈᦡᦲᧃᧉ (หฺย่อ̂กดี้น)
- ᦗᦰᦍᦰᦡᦲᧃᧉ (พะยะดี้น)
- ᦡᦲᧃᧉᦶᦀᧁᧈ (ดี้นแอ่ว)
- ᦡᦲᧃᧉᦊᦸᧅᧈ (ดี้นหฺย่อ̂ก)
- ᦡᦲᧃᧉᦷᦙᧃᧈ (ดี้นโม่น)
- ᦡᦲᦡᦲᧃᧉᦡᦲᦶᦀᧁᧈ (ดีดี้นดีแอ่ว)
- ᦶᦀᧁᧈᦡᦲᧃᧉᦶᦀᧁᧈᦟᦸᧈ (แอ่วดี้นแอ่วล่อ̂)
- ᦉᦱᧈᦵᦍᦲᧄᦷᦙᧃᧈᦡᦲᧃᧉ (ส่าเยีมโม่นดี้น)
รากศัพท์ 2
แก้ไขร่วมเชื้อสายกับไทย ดิ้น, ลาว ດິ້ນ (ดิ้น) หรือ ດີ້ນ (ดี้น), คำเมือง ᨯᩥ᩠᩶ᨶ (ดิ้น), เขิน ᨯᩥ᩠᩶ᨶ (ดิ้น), ไทใหญ่ လိၼ်ႈ (ลิ้น)
คำกริยา
แก้ไขᦡᦲᧃᧉ (ดี้น) (คำอาการนาม ᦂᦱᧃᦡᦲᧃᧉ)
ลูกคำ
แก้ไขดิ้น
- ᦋᧅᦡᦲᧃᧉ (ชักดี้น)
| width=1% | |bgcolor="#F9F9F9" valign=top align=left width=48%|