อติเรก
ภาษาบาลี
แก้ไขรากศัพท์
แก้ไขอติ + เอก หรือ อติรฺ + เอก หรือ อติ + รฺ + เอก หรือ อติสฺ + เอก หรือ อติ + อิ + ณฺวุ หรือ อติ + อิ + อก
รูปแบบอื่น
แก้ไขเขียนด้วยอักษรอื่น
- (อักษรละติน) atireka
- (อักษรพราหมี) 𑀅𑀢𑀺𑀭𑁂𑀓 (อติเรก)
- (อักษรเทวนาครี) अतिरेक (อติเรก)
- (อักษรเบงกอล) অতিরেক (อติเรก)
- (อักษรสิงหล) අතිරෙක (อติเรก)
- (อักษรพม่า) အတိရေက (อติเรก) หรือ ဢတိရေၵ (อติเรก)
- (อักษรไทย) อะติเรกะ
- (อักษรไทธรรม) ᩋᨲᩥᩁᩮᨠ (อติเรก)
- (อักษรลาว) ອຕິເຣກ (อติเรก) หรือ ອະຕິເຣກະ (อะติเรกะ)
- (อักษรเขมร) អតិរេក (อติเรก)
- (อักษรจักมา)
มีที่อื่น ลงไว้ว่า อติ+ริจฺ+ต (ati-ric-ta > atirikta) อติเรก แปลว่า ส่วนที่มากเกิน เหลือเฟือ[1]
คำคุณศัพท์
แก้ไขอติเรก
การผันรูป
แก้ไขตารางการผันรูปของ "อติเรก" (เพศชาย)
การก \ พจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
กรรตุการก (ปฐมา) | อติเรโก | อติเรกา |
กรรมการก (ทุติยา) | อติเรกํ | อติเรเก |
กรณการก (ตติยา) | อติเรเกน | อติเรเกหิ หรือ อติเรเกภิ |
สัมปทานการก (จตุตถี) | อติเรกสฺส หรือ อติเรกาย หรือ อติเรกตฺถํ | อติเรกานํ |
อปาทานการก (ปัญจมี) | อติเรกสฺมา หรือ อติเรกมฺหา หรือ อติเรกา | อติเรเกหิ หรือ อติเรเกภิ |
สัมพันธการก (ฉัฏฐี) | อติเรกสฺส | อติเรกานํ |
อธิกรณการก (สัตตมี) | อติเรกสฺมิํ หรือ อติเรกมฺหิ หรือ อติเรเก | อติเรเกสุ |
สัมโพธนการก (อาลปนะ) | อติเรก | อติเรกา |
ตารางการผันรูปของ "อติเรก" (เพศกลาง)
การก \ พจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
กรรตุการก (ปฐมา) | อติเรกํ | อติเรกานิ |
กรรมการก (ทุติยา) | อติเรกํ | อติเรกานิ |
กรณการก (ตติยา) | อติเรเกน | อติเรเกหิ หรือ อติเรเกภิ |
สัมปทานการก (จตุตถี) | อติเรกสฺส หรือ อติเรกาย หรือ อติเรกตฺถํ | อติเรกานํ |
อปาทานการก (ปัญจมี) | อติเรกสฺมา หรือ อติเรกมฺหา หรือ อติเรกา | อติเรเกหิ หรือ อติเรเกภิ |
สัมพันธการก (ฉัฏฐี) | อติเรกสฺส | อติเรกานํ |
อธิกรณการก (สัตตมี) | อติเรกสฺมิํ หรือ อติเรกมฺหิ หรือ อติเรเก | อติเรเกสุ |
สัมโพธนการก (อาลปนะ) | อติเรก | อติเรกานิ |