ภาษาชวาเก่า

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

santan

  1. การสะกดแบบอื่นของ santĕn

ภาษาซูก

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

ยืมมาจากภาษามาเลเซีย santan, จากภาษาชวาเก่า santĕn (กะทิ), จากภาษาสันสกฤต सार (สาร, เนื้อแท้)

การออกเสียง

แก้ไข

ข้อผิดพลาดสคริปต์: ไม่มีมอดูล "tsg-pronunciation"

คำนาม

แก้ไข

ข้อผิดพลาดสคริปต์: ไม่มีมอดูล "phi-headword"

  1. ข้าวมันกะทิ; ข้าวหุงกับกะทิและน้ำตาล

ภาษาเซบัวโน

แก้ไข

รูปแบบอื่น

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

เป็นไปได้ว่าเกี่ยวข้องกับ 山丹山丹

การออกเสียง

แก้ไข
  • การแบ่งพยางค์: san‧tan

คำนาม

แก้ไข

santan

  1. พืชในสกุล Ixora ซึ่งเป็นสกุลเดียวในเผ่า Ixoreae ในวงศ์ Rubiaceae

ภาษาญี่ปุ่น

แก้ไข

การถอดเป็นอักษรโรมัน

แก้ไข

santan

  1. การถอดอักษรแบบโรมาจิของ さんたん

ภาษาตากาล็อก

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข

รากศัพท์ 1

แก้ไข

เป็นไปได้ว่าเกี่ยวข้องกับ 山丹山丹

คำนาม

แก้ไข

santán (อักษรไบบายิน ᜐᜈ᜔ᜆᜈ᜔)

  1. เข็มญี่ปุ่น, เข็มแดง (Ixora chinensis)
คำเกี่ยวข้อง
แก้ไข

รากศัพท์ 2

แก้ไข

ยืมมาจากภาษามาเลเซีย santan, จากภาษาชวาเก่า santĕn (กะทิ), จากภาษาสันสกฤต सार (สาร, เนื้อแท้)

คำนาม

แก้ไข

santán (อักษรไบบายิน ᜐᜈ᜔ᜆᜈ᜔)

  1. น้ำเชื่อมกะทิ; ส่วนผสมที่ต้มแล้วของกะทิกับกากน้ำตาลหรือน้ำตาล

คำสลับอักษร

แก้ไข

ภาษามาเลเซีย

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

รับมาจากภาษาชวาเก่า santĕn (กะทิ), จากภาษาสันสกฤต सार (สาร, เนื้อแท้) ร่วมรากกับ sara and sari

คำนาม

แก้ไข

santan (อักษรยาวี سنتن, สัมพันธการกบุคคลที่หนึ่งไม่ทางการ santanku, สัมพันธการกบุคคลที่สอง santanmu, สัมพันธการกบุคคลที่สาม santannya)

  1. กะทิ

คำสืบทอด

แก้ไข
  • อินโดนีเซีย: santan
  • จีน: 參丹参丹
  • Macanese: santám
  • ตากาล็อก: santan
  • ซูก: santan

อ่านเพิ่มเติม

แก้ไข

ภาษาอินโดนีเซีย

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากภาษามาเลเซีย santan, จากภาษาชวาเก่า santĕn (กะทิ), จากภาษาสันสกฤต सार (สาร, เนื้อแท้)[1] ร่วมรากกับ sara and sari

การออกเสียง

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

santan (สัมพันธการกบุคคลที่หนึ่ง santanku, สัมพันธการกบุคคลที่สอง santanmu, สัมพันธการกบุคคลที่สาม santannya)

  1. กะทิ
    Santan adalah cairan putih kental yang dihasilkan dari kelapa.กะทิคือของเหลวสีขาวข้นที่เป็นผลิตผลจากมะพร้าว

รูปแบบอื่น

แก้ไข

คำเกี่ยวข้อง

แก้ไข

อ้างอิง

แก้ไข
  1. Hoogervorst, T. (2016) Lexical influence from North India to Maritime Southeast Asia; Some new directions[1], OCLC 1367100839

อ่านเพิ่มเติม

แก้ไข