ภาษานอร์เวย์แบบบุ๊กมอล แก้ไข

 
วิกิพีเดียภาษานอร์เวย์แบบบุ๊กมอลมีบทความเกี่ยวกับ:
Wikipedia nb

รูปแบบอื่น แก้ไข

รากศัพท์ แก้ไข

ส่วนแรก anno จาก ภาษาละติน annō, อปาทานการกของ annus (ปี; เวลา), จาก ภาษาอิตาลิกดั้งเดิม *atnos (ปี), จาก ภาษาอินโด-ยูโรเปียนดั้งเดิม *h₂et-no-, จาก *h₂et- (ไป)

ส่วนหลัง Domini จาก ภาษาละติน Dominī, สัมพันธการกเอกพจน์ของ Dominus (พระผู้เป็นเจ้า), ของ dominus (เจ้า, เจ้าบ้าน), จาก ภาษาอิตาลิกดั้งเดิม *domanos, จาก ภาษาอินโด-ยูโรเปียนดั้งเดิม *domh₂nos (เผด็จ), จาก *demh₂- (เชื่อง, อ่อนน้อม)

การออกเสียง แก้ไข

วลี แก้ไข

anno Domini

  1. anno Domini (ยุคปฏิทินปัจจุบันซึ่งเริ่มต้นขึ้นเมื่อประมาณ 2,000 ปีที่แล้วในปฏิทินกริกอเรียน โดยอิงจากสันนิษฐานประสูติกาลของพระเยซูคริสต์)
    • 2002, Cecilie Høigård, Gategallerier:
      [AD] kan også bety noe annet enn Angel Devious, det kan bety Anno Domini
      [AD] อาจหมายถึงอย่างอื่นที่ไม่ใช่ Angel Devious เช่นอาจหมายถึง Anno Domini

อ้างอิง แก้ไข

ภาษาละติน แก้ไข

รูปแบบอื่น แก้ไข

รากศัพท์ แก้ไข

จาก annō (อปาทานการกของ annus (ปี)) + Dominī (สัมพันธการกของ Dominus (พระผู้เป็นเจ้า))

การออกเสียง แก้ไข

วลี แก้ไข

annō Dominī

  1. สัมปทานการก เอกพจน์ของ annus Dominī
  2. อปาทานการก เอกพจน์ของ annus Dominī: ในปีหลังจากพระผู้เป็นเจ้าจุติ, anno Domini
    • 1282-1285 — Simon de Keza, Gesta Hungarorum; ตอนที่ 7
      Igitur in aetate sexta saeculi multiplicati Huni in Scitia habitando ut arena, anno Domini septingentesimo in unum congregati, capitaneos inter se...
    • 1476Commissio propria domini regis; Decreta Regni Hungariae 1458-1490 (บูดาเปสต์, 1989)
      Datum Bude in Dominica reminiscere anno Domini millesimo quadringentesimo septuagesimo sexto regnorum nostrorum anno Hungarie etc.

ภาษาอังกฤษ แก้ไข

รูปแบบอื่น แก้ไข

รากศัพท์ แก้ไข

คำยืมจาก ละตินสมัยกลาง annō Dominī, จาก annō, (อปาทานการกของ annus (ปี)) + Dominī (สัมพันธการกของ dominus (ผู้เป็นเจ้า)); ตามตัวอักษร: in the year of our Lord, ในปีหลังจากพระคริสต์จุติ

การออกเสียง แก้ไข

คำนาม แก้ไข

anno Domini (นับได้และนับไม่ได้, พหูพจน์ annis Domini)

  1. ยุคปฏิทินปัจจุบันซึ่งเริ่มต้นขึ้นเมื่อประมาณ 2,000 ปีที่แล้วในปฏิทินกริกอเรียน โดยอิงจากสันนิษฐานประสูติกาลของพระเยซูคริสต์

การใช้งาน แก้ไข

  • การลงรายการทางบรรณานุกรมในรูปแบบ Chicago Manual of Style และส่วนใหญ่ของรูปแบบเฉพาะหน่วยงานอื่น ๆ จะวางคำว่า AD ไว้ก่อนวันที่ (เช่น AD 250) แม้ว่าในการใช้แบบลำลองจะพบการวางตำแหน่งของคำตามหลังวันที่บ่อยครั้ง

คำพ้องความ แก้ไข

คำตรงข้าม แก้ไข

คำแปล แก้ไข

อ่านเพิ่มเติม แก้ไข

อ้างอิง แก้ไข