ᨸᩦ᩵
ภาษาเขิน
แก้ไขรากศัพท์
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *piːᴮ¹; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ปี่, ภาษาลาว ປີ່ (ปี่), ภาษาคำเมือง ᨸᩦ᩵ (ปี่), ภาษาไทลื้อ ᦔᦲᧈ (ปี่), ภาษาไทใหญ่ ပီႇ (ปี่), ภาษาไทดำ ꪜꪲ꪿ (ปิ่), ภาษาไทใต้คง ᥙᥤᥱ (ปี่), ภาษาพ่าเก ပီ (ปี), ภาษาอาหม 𑜆𑜣 (ปี)
การออกเสียง
แก้ไข- (เชียงตุง) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /piː˨˨/
- คำพ้องเสียง: ᨻᩦ᩵ (พี่) (ในถิ่นที่มีการออกเสียงอักษรคู่เหมือนกันเมื่อมีไม้หยัก)
คำนาม
แก้ไขᨸᩦ᩵ (ปี่)
ภาษาคำเมือง
แก้ไขรูปแบบอื่น
แก้ไข- (ถอดอักษรและถอดเสียง) ปี่
รากศัพท์
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *piːᴮ¹; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ปี่, ภาษาลาว ປີ່ (ปี่), ภาษาเขิน ᨸᩦ᩵ (ปี่), ภาษาไทลื้อ ᦔᦲᧈ (ปี่), ภาษาไทใหญ่ ပီႇ (ปี่), ภาษาไทดำ ꪜꪲ꪿ (ปิ่), ภาษาไทใต้คง ᥙᥤᥱ (ปี่), ภาษาพ่าเก ပီ (ปี), ภาษาอาหม 𑜆𑜣 (ปี)
การออกเสียง
แก้ไข- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /pi˨/
คำนาม
แก้ไขᨸᩦ᩵ (ปี่)
ภาษาไทลื้อ
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไข- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /piː˧˥/
คำนาม
แก้ไขᨸᩦ᩵ (ปี่)
- อีกรูปหนึ่งของ ᦔᦲᧈ (ปี่)