แมง
ภาษาไทย
แก้ไขรากศัพท์
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *mlɛːŋᴬ, จากภาษาไทดั้งเดิม *m.leːŋᴬ, จากภาษาจีนยุคกลาง 螟蛉 (MC meng leng)[1]; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย แมง, ภาษาอีสาน แมง, ภาษาลาว ແມງ (แมง), ภาษาไทดำ ꪵꪣꪉ (แมง), ภาษาไทใต้คง ᥛᥦᥒᥰ (แม๊ง), ภาษาจ้วง mengz/nengz, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง mengz
การออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | แมง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | mɛɛng |
ราชบัณฑิตยสภา | maeng | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /mɛːŋ˧/(สัมผัส) |
คำนาม
แก้ไขแมง
- ชื่อสัตว์ขาปล้องหลายชนิดในชั้น Arachnida เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่มีร่างกายแบ่งเป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนหัวเชื่อมอก และส่วนท้อง มีขา ๘ หรือ ๑๐ ขา ไม่มีหนวด ไม่มีปีก
- แมงมุม
- แมงดาทะเล
- แมงป่อง
- ↑ Pittayaporn, Pittayawat (2014), chapter Layers of Chinese Loanwords in Proto-Southwestern Tai as Evidence for the Dating of the Spread of Southwestern Tai, in MANUSYA: Journal of Humanities, volume 20 (special issue), Bangkok: Chulalongkorn University, ISSN 0859-9920, pages 47–68.