ดูเพิ่ม: วินิจฺฉย

ภาษาไทย

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

ยืมมาจากภาษาบาลี วินิจฺฉย; เทียบภาษาสันสกฤต विनिश्चय (วินิศฺจย)

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์วิ-นิด-ไฉ
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงwí-nít-chǎi
ราชบัณฑิตยสภาwi-nit-chai
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/wi˦˥.nit̚˦˥.t͡ɕʰaj˩˩˦/(สัมผัส)

คำกริยา

แก้ไข

วินิจฉัย (คำอาการนาม การวินิจฉัย)

  1. (ทั่วไป, ราชาศัพท์, ภาษาหนังสือ) ตัดสิน, ชี้ขาด
    เรื่องนี้วินิจฉัยได้ 2 ทาง
  2. ไตร่ตรอง, ใคร่ครวญ
    คณะกรรมการขอเลื่อนเวลาออกไปอีกเพื่อวินิจฉัยปัญหาให้รอบคอบยิ่งขึ้น

คำนาม

แก้ไข

วินิจฉัย

  1. (ทั่วไป, ราชาศัพท์, ภาษาหนังสือ) คำตัดสิน, คำชี้ขาด

การใช้

แก้ไข

ราชาศัพท์ คำนามใช้ว่า (คำ)วินิจฉัย (ใช้แก่คนทั่วไปก็ได้) พระวินิจฉัย พระราชวินิจฉัย หรือ พระบรมราชวินิจฉัย, คำกริยาใช้ว่า ทรงวินิจฉัย ทรงพระวินิจฉัย หรือ ทรงพระราชวินิจฉัย

คำพ้องความ

แก้ไข