ภาษาไทย แก้ไข

 
กั้ง

การออกเสียง แก้ไข

การแบ่งพยางค์กั้ง
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงgâng
ราชบัณฑิตยสภาkang
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/kaŋ˥˩/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1 แก้ไข

แผลงมาจาก กุ้ง

คำนาม แก้ไข

กั้ง (คำลักษณนาม ตัว)

  1. ชื่อสัตว์น้ำไม่มีกระดูกสันหลังในชั้น Crustacea อันดับ Stomatopoda มีหลายวงศ์ ส่วนใหญ่อยู่ในวงศ์ Squillidae หายใจด้วยเหงือก ลำตัวแบนหรือกลม แบ่งเป็นปล้อง ๆ เปลือกที่หุ้มท่อนหัวและอกคลุมมาถึงอกปล้องที่ 5 แต่ไม่ถึงปล้องที่ 8 กรีมีลักษณะแบนราบ มี 6 ขา

คำเกี่ยวข้อง แก้ไข

คำแปลภาษาอื่น แก้ไข

รากศัพท์ 2 แก้ไข

ยืมมาจากภาษาพม่า ကရင် (กรง์) โดยถอดรูป

คำนาม แก้ไข

กั้ง

  1. (โบราณ) กะเหรี่ยง

รากศัพท์ 3 แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨠᩢ᩠᩶ᨦ (กั้ง), ภาษาลาว ກັ້ງ (กั้ง), ภาษาเขิน ᨠᩢ᩠᩶ᨦ (กั้ง), ภาษาไทลื้อ ᦂᧂᧉ (กั้ง), ภาษาไทใหญ่ ၵင်ႈ (กั้ง)

คำกริยา แก้ไข

กั้ง

  1. (ร้อยกรอง) กั้น

ภาษาคำเมือง แก้ไข

การออกเสียง แก้ไข

  • (กริยาความหมายที่ 1) กั้ง (เสียงโทพิเศษ)
  • (กริยาความหมายที่ 2) กั้ง

คำกริยา แก้ไข

กั้ง (คำอาการนาม ก๋ารกั้ง หรือ ก๋านกั้ง)

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨠᩢ᩠᩶ᨦ (กั้ง); ปิด, บัง
  2. อีกรูปหนึ่งของ ᨣᩖᩢ᩵ᨦ (คลั่ง); ละเมอ (คล้ายกับ คลั่ง ในคำว่า คลุ้มคลั่ง, คลั่งไคล้)

คำเกี่ยวข้อง แก้ไข

ภาษาญ้อ แก้ไข

คำกริยา แก้ไข

กั้ง

  1. กาง (ร่ม)