𑜍𑜥
ภาษาอาหม
แก้ไขรากศัพท์ 1
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *truəᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย หัว, ภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᩅᩫ (หว็), ภาษาลาว ຫົວ (ห็ว), ภาษาไทลื้อ ᦷᦠ (โห), ภาษาไทดำ ꪬꪺ (หัว), ภาษาไทใหญ่ ႁူဝ် (หูว)
รูปแบบอื่น
แก้ไขคำนาม
แก้ไข𑜍𑜥 • (รู)
รากศัพท์ 2
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *rɯːwꟲ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย รู้, ภาษาคำเมือง ᩁᩪ᩶ (รู้), ภาษาอีสาน ฮู้, ภาษาลาว ຮູ້ (ฮู้), ภาษาไทลื้อ ᦣᦴᧉ (ฮู้), ภาษาไทดำ ꪭꪴ꫁ (ฮุ้), ภาษาไทใหญ่ ႁူႉ (หู๎), ภาษาจ้วง rox,ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง rux, ภาษาแสก รอ
รูปแบบอื่น
แก้ไข- 𑜍𑜤𑜈𑜫 (รุว์)
คำกริยา
แก้ไข𑜍𑜥 • (รู)
รากคำศัพท์ 3
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ruːᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย รู, ภาษาคำเมือง ᩁᩪ (รู), ภาษาลาว ຮູ (ฮู), ภาษาไทลื้อ ᦣᦴ (ฮู), ภาษาไทดำ ꪭꪴ (ฮุ), ภาษาไทใหญ่ ႁူး (หู๊)
คำนาม
แก้ไข𑜍𑜥 • (รู)
รากศัพท์ 4
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *krwɯːᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย หู, ภาษาคำเมือง ᩉᩪ (หู), ภาษาลาว ຫູ (หู), ภาษาไทลื้อ ᦠᦴ (หู), ภาษาไทใหญ่ ႁူ (หู), ภาษาเขิน ᩉᩪ (หู), ภาษาไทดำ ꪬꪴ (หุ), ภาษาไทใต้คง ᥞᥧᥴ (หู๋), ภาษาอ่ายตน ꩭူ (หู), ภาษาจ้วง rwz,ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง hu
คำนาม
แก้ไข𑜍𑜥 • (รู)