ᩈᩢ᩠᩵ᨦ
ภาษาเขิน
แก้ไขรากศัพท์
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *saŋᴮ¹, จากภาษาไทดั้งเดิม *saŋᴮ (“บอกให้ทำ”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย สั่ง, ภาษาคำเมือง ᩈᩢ᩠᩵ᨦ (สั่ง), ภาษาลาว ສັ່ງ (สั่ง), ภาษาไทลื้อ ᦉᧂᧈ (สั่ง), ภาษาไทดำ ꪎꪰ꪿ꪉ (สั่ง), ภาษาไทใหญ่ သင်ႇ (สั่ง), ภาษาไทใต้คง ᥔᥒᥱ (สั่ง), ภาษาพ่าเก ꩬင် (สง์), ภาษาอาหม 𑜏𑜂𑜫 (สง์), ภาษาจ้วง saengq หรือ daengq
การออกเสียง
แก้ไข- (เชียงตุง) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /saŋ˨˨/
คำกริยา
แก้ไขᩈᩢ᩠᩵ᨦ (สั่ง) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᩈᩢ᩠᩵ᨦ)
ภาษาคำเมือง
แก้ไขรูปแบบอื่น
แก้ไข- (ถอดอักษรและถอดเสียง) สั่ง
รากศัพท์
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *saŋᴮ¹, จากภาษาไทดั้งเดิม *saŋᴮ (“บอกให้ทำ”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย สั่ง, ภาษาเขิน ᩈᩢ᩠᩵ᨦ (สั่ง), ภาษาลาว ສັ່ງ (สั่ง), ภาษาไทลื้อ ᦉᧂᧈ (สั่ง), ภาษาไทดำ ꪎꪰ꪿ꪉ (สั่ง), ภาษาไทใหญ่ သင်ႇ (สั่ง), ภาษาไทใต้คง ᥔᥒᥱ (สั่ง), ภาษาพ่าเก ꩬင် (สง์), ภาษาอาหม 𑜏𑜂𑜫 (สง์), ภาษาจ้วง saengq หรือ daengq
การออกเสียง
แก้ไข- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /saŋ˨˩/
คำกริยา
แก้ไขᩈᩢ᩠᩵ᨦ (สั่ง) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᩈᩢ᩠᩵ᨦ)