ภาษาเขิน แก้ไข

การออกเสียง แก้ไข

รากศัพท์ 1 แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *siəᴬ¹; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เสีย, ภาษาคำเมือง ᩈ᩠ᨿᩮ (สเย), ภาษาลาว ເສຍ (เสย), ภาษาไทลื้อ ᦵᦉ (เส), ภาษาไทใหญ่ သေ (เส), ภาษาไทใต้คง ᥔᥥᥴ (เส๋), ภาษาพ่าเก ꩬေ (เส), ภาษาอาหม *𑜏𑜦𑜧 (*เส)

คำกริยา แก้ไข

ᩈ᩠ᨿᩮ (สเย) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᩈ᩠ᨿᩮ)

  1. เสีย

คำคุณศัพท์ แก้ไข

ᩈ᩠ᨿᩮ (สเย) (คำอาการนาม ᨣ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᩈ᩠ᨿᩮ)

  1. เสีย

รากศัพท์ 2 แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เสีย, ภาษาลาว ເສຍ (เสย), ภาษาคำเมือง ᩈ᩠ᨿᩮ (สเย), ภาษาไทลื้อ ᦵᦉ (เส), ภาษาไทใหญ่ သေ (เส)

คำอนุภาค แก้ไข

ᩈ᩠ᨿᩮ (สเย)

  1. เสีย

ภาษาคำเมือง แก้ไข

รูปแบบอื่น แก้ไข

  • (ถอดอักษรและถอดเสียง) เสีย

การออกเสียง แก้ไข

รากศัพท์ 1 แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *siəᴬ¹; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เสีย, ภาษาเขิน ᩈ᩠ᨿᩮ (สเย), ภาษาลาว ເສຍ (เสย), ภาษาไทลื้อ ᦵᦉ (เส), ภาษาไทใหญ่ သေ (เส), ภาษาไทใต้คง ᥔᥥᥴ (เส๋), ภาษาพ่าเก ꩬေ (เส), ภาษาอาหม *𑜏𑜦𑜧 (*เส)

คำกริยา แก้ไข

ᩈ᩠ᨿᩮ (สเย) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᩈ᩠ᨿᩮ)

  1. (สกรรม) เสีย

คำคุณศัพท์ แก้ไข

ᩈ᩠ᨿᩮ (สเย) (คำอาการนาม ᨣᩤᩴᩈ᩠ᨿᩮ หรือ ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᩈ᩠ᨿᩮ)

  1. เสีย

รากศัพท์ 2 แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เสีย, ภาษาลาว ເສຍ (เสย), ภาษาเขิน ᩈ᩠ᨿᩮ (สเย), ภาษาไทลื้อ ᦵᦉ (เส), ภาษาไทใหญ่ သေ (เส)

คำอนุภาค แก้ไข

ᩈ᩠ᨿᩮ (สเย)

  1. เสีย