ภาษาไทใต้คง แก้ไข

การออกเสียง แก้ไข

รากศัพท์ 1 แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *C̥.doːjᴬ (ภูเขา); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ดอย, ภาษาลาว ດອຍ (ดอย), ภาษาคำเมือง ᨯᩬ᩠ᨿ (ดอย), ภาษาเขิน ᨯᩭ (ดอย), ภาษาไทลื้อ ᦡᦾ (ดอ̂ย), ภาษาไทใหญ่ လွႆ (ลอ̂ย), ภาษาอาหม 𑜓𑜨𑜩 (ดอ̂ย์) หรือ 𑜓𑜨𑜩𑜐𑜫 (ดอ̂ย์ญ์), ภาษาจ้วง ndoi

คำนาม แก้ไข

ᥘᥩᥭ (ลอ̂ย) (อักขรวิธี 1963 ᥘᥩᥭ)

  1. ภูเขา, เนิน

รากศัพท์ 2 แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ดอย (ผูก เช่น ดอยศพ), ภาษาอีสาน ดอย, ภาษาลาว ດອຍ (ดอย, เอาศพหันหัวไปทางทิศตะวันตกแล้วเอาผ้าคลุมไว้), ภาษาไทใหญ่ လွႆ (ลอ̂ย, เตรียมศพเพื่อฝัง)

คำกริยา แก้ไข

ᥘᥩᥭ (ลอ̂ย) (อักขรวิธี 1963 ᥘᥩᥭ)

  1. (สกรรม) ฝัง

รากศัพท์ 3 แก้ไข

รากศัพท์นี้ขาดหายหรือไม่สมบูรณ์ กรุณาช่วยเพิ่มเติม หรืออภิปรายที่หน้าพูดคุย

คำกริยา แก้ไข

ᥘᥩᥭ (ลอ̂ย) (อักขรวิธี 1963 ᥘᥩᥭ)

  1. (ใช้แก่ไฟ, อกรรม) อ่อนลง, น้อยลง
  2. (อกรรม) หยุด

อ้างอิง แก้ไข

  • Luo, Y. (1999). A dictionary of Dehong, Southwest China. The Australian National University, Research School of Pacific and Asian Studies, Pacific Linguistics.