ภาษาไทใหญ่

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข

รากศัพท์ 1

แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *tʰajᴮ¹ (Jonsson, 1991); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ไถ่, ภาษาคำเมือง ᨳᩱ᩵ (ไถ่), ภาษาเขิน ᨳᩱ᩵ (ไถ่), ภาษาลาว ໄຖ່ (ไถ่), ภาษาไทลื้อ ᦺᦏᧈ (ไถ่), ภาษาไทดำ ꪼꪖ꪿ (ไถ่), ภาษาไทขาว ꪼꪖꫀ, ภาษาไทใต้คง ᥗᥭᥱ (ถั่ย), ภาษาพ่าเก ထႝ (ถย์), ภาษาอาหม *𑜌𑜩 (*ถย์)

คำกริยา

แก้ไข

ထႆႇ (ไถ่) (คำอาการนาม လွင်ႈထႆႇ)

  1. (สกรรม) ไถ่ถอน
  2. (สกรรม) แลกของเก่าเพื่อเอาของใหม่
  3. (อกรรม) หลุด, ร่วง (ฟันน้ำนม ผม หรือใบไม้)

รากศัพท์ 2

แก้ไข

ยืมมาจากภาษาไทย ถ่าย

คำกริยา

แก้ไข

ထႆႇ (ไถ่) (คำอาการนาม လွင်ႈထႆႇ)

  1. (สกรรม) ถ่าย (รูป)
    ထႆႇႁၢင်ႈ
    ไถ่ห้าง
    ถ่ายรูป