ดูเพิ่ม: ไฮ่ และ ไฮ้

ภาษาไทย แก้ไข

การออกเสียง แก้ไข

การแบ่งพยางค์ไฮ
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงhai
ราชบัณฑิตยสภาhai
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/haj˧/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1 แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩁᩱ (ไร), ภาษาอีสาน ไฮ, ภาษาลาว ໄຮ (ไฮ), ภาษาไทใหญ่ ႁႆး (ไห๊), ภาษาไทใต้คง ᥞᥭᥰ (หั๊ย), ภาษาพ่าเก ꩭႝ (หย์), ภาษาอาหม 𑜍𑜩 (รย์)

ภาษาไทยสมัยใหม่ควรมีคำว่า *ไร แต่ถูกแทนที่ด้วย ไทร ซึ่งมาจากมอญ-เขมร

คำนาม แก้ไข

ไฮ

  1. (โบราณ, เลิกใช้) ไทร
ดูเพิ่ม แก้ไข

รากศัพท์ 2 แก้ไข

ยืมมาจากภาษาอังกฤษ high

คำกริยา แก้ไข

ไฮ

  1. (ภาษาปาก) อาการเคลิบเคลิ้มหรือเมาหลังจากเสพยา

ภาษาชอง แก้ไข

รากศัพท์ แก้ไข

ยืมมาจากภาษาไทย ไห

คำนาม แก้ไข

ไฮ

  1. ไห

ภาษาอีสาน แก้ไข

รากศัพท์ 1 แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *rajᴬ⁴, จากภาษาไทดั้งเดิม *rwɤjᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ไร, ภาษาคำเมือง ᩁᩱ (ไร), ภาษาเขิน ᩁᩱ (ไร), ภาษาลาว ໄຮ (ไฮ), ภาษาไทลื้อ ᦺᦣ (ไฮ), ภาษาไทใหญ่ ႁႆး (ไห๊), ภาษาไทใต้คง ᥞᥭᥰ (หั๊ย), ภาษาพ่าเก ꩭႝ (หย์), ภาษาอาหม 𑜍𑜩 (รย์), ภาษาจ้วง reiz

คำนาม แก้ไข

ไฮ

  1. ไร (สัตว์)

รากศัพท์ 2 แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ไฮ, ภาษาคำเมือง ᩁᩱ (ไร), ภาษาลาว ໄຮ (ไฮ), ภาษาไทใหญ่ ႁႆး (ไห๊), ภาษาไทใต้คง ᥞᥭᥰ (หั๊ย), ภาษาพ่าเก ꩭႝ (หย์), ภาษาอาหม 𑜍𑜩 (รย์)

คำนาม แก้ไข

ไฮ

  1. ไทร