ศก
ภาษาไทย
แก้ไขรากศัพท์ 1
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | สก | |
---|---|---|
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sòk |
ราชบัณฑิตยสภา | sok | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /sok̚˨˩/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง | สก |
คำนาม
แก้ไขศก
- ผม
- พระศกพระพุทธรูป
- หยักศก
รากศัพท์ 2
แก้ไขยืมมาจากสันสกฤต शक (ศก); "ศกะ" หมายถึง ศากยวงศ์แห่งพระพุทธองค์ เพราะการบอกปีในสังคมอินเดียแต่ก่อน นิยมนับตามพระชนมายุของกษัตริย์[1]
การออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | สก | |
---|---|---|
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sòk |
ราชบัณฑิตยสภา | sok | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /sok̚˨˩/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง | สก |
คำนาม
แก้ไขศก
- ระบบการคำนวณนับเวลาเรียงลำดับกันเป็นปี ๆ โดยถือเอาเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งเป็นจุดเริ่มต้น ดังในคำว่า รัตนโกสินทรศก ซึ่งถือเอาปีเริ่มสร้างกรุงรัตนโกสินทร์เป็นจุดเริ่มต้น, บางทีก็ใช้เป็นคำย่อของศักราช
- พุทธศก
- คริสต์ศก
- คำเรียกปีหนึ่ง ๆ ของจุลศักราช เพื่อให้ทราบว่าเป็นปีที่ลงท้ายด้วย 1 2 ... หรือ 0 เช่น ถ้าลงท้ายด้วย 1 เรียกว่า เอกศก ลงท้ายด้วย 2 เรียกว่า โทศก ... ลงท้ายด้วย 0 เรียกว่า สัมฤทธิศก
- (ภาษาปาก) ปี
- ศกนี้
- ศกหน้า
- วันเถลิงศก
รากศัพท์ 3
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | สอ-กอ | |
---|---|---|
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sɔ̌ɔ-gɔɔ |
ราชบัณฑิตยสภา | so-ko | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /sɔː˩˩˦.kɔː˧/(สัมผัส) |
คำวิสามานยนาม
แก้ไขศก
- อักษรย่อของ ศรีสะเกษ