U+5149, 光
CJK UNIFIED IDEOGRAPH-5149

[U+5148]
CJK Unified Ideographs
[U+514A]

ภาษาร่วม แก้ไข

อักษรจีน แก้ไข

(รากคังซีที่ 10, +4, 6 ขีด, การป้อนชางเจี๋ย 火一山 (FMU), การป้อนสี่มุม 90211, การประกอบ )

  1. แสง, สุกใส, แสงสว่าง
  2. เพียงแต่, เพียง...เท่านั้น
  3. หมดเกลี้ยง, ไม่มีเหลือ

อ้างอิง แก้ไข

  • พจนานุกรมคังซี: หน้า 124 อักขระตัวที่ 6
  • พจนานุกรมไดกังวะจิเต็ง: อักขระตัวที่ 1350
  • พจนานุกรมแทจาวอน: หน้า 262 อักขระตัวที่ 1
  • พจนานุกรมฮั่นยฺหวี่ต้าจื้อเตี่ยน (ฉบับพิมพ์ครั้งแรก): เล่ม 1 หน้า 266 อักขระตัวที่ 7
  • ข้อมูลยูนิฮันสำหรับ U+5149

ภาษาจีน แก้ไข

ตัวย่อและตัวเต็ม

การออกเสียง แก้ไข


  • ข้อมูลภาษาถิ่น
สำเนียง สถานที่
จีนกลาง ปักกิ่ง /kuɑŋ⁵⁵/
ฮาเอ่อร์ปิน /kuaŋ⁴⁴/
เทียนจิน /kuɑŋ²¹/
จี่หนาน /kuaŋ²¹³/
ชิงเต่า /kuaŋ²¹³/
เจิ้งโจว /kuaŋ²⁴/
ซีอาน /kuaŋ²¹/ ~頭
/kuaŋ²⁴/ 副詞
ซีหนิง /kuɔ̃⁴⁴/
อิ๋นชวน /kuɑŋ⁴⁴/
หลานโจว /kuɑ̃³¹/
อุรุมชี /kuɑŋ⁴⁴/
อู่ฮั่น /kuaŋ⁵⁵/
เฉิงตู /kuaŋ⁵⁵/
กุ้ยหยาง /kuaŋ⁵⁵/
คุนหมิง /kuã̠⁴⁴/
หนานจิง /kuaŋ³¹/
เหอเฝย์ /kuɑ̃²¹/
จิ้น ไท่หยวน /kuɒ̃¹¹/
ผิงเหยา /kuɑŋ¹³/
/kuə¹³/ ~油油
ฮูฮอต /kuɑ̃³¹/
อู๋ เซี่ยงไฮ้ /kuɑ̃⁵³/
ซูโจว /kuɑ̃⁵⁵/
หางโจว /kuɑŋ³³/
เวินโจว /kuɔ³³/
หุย เซ่อเสี้ยน /ko³¹/
ถุนซี /kau¹¹/
เซียง ฉางชา /kuan³³/
เซียงถาน /kɔn³³/
กั้น หนานชาง /kuɔŋ⁴²/
แคะ เหมยเซี่ยน /kuoŋ⁴⁴/
เถาหยวน /koŋ²⁴/
กวางตุ้ง กวางเจา /kwɔŋ⁵³/
หนานหนิง /kɔŋ⁵⁵/
ฮ่องกง /kwɔŋ⁵⁵/
หมิ่น เซี่ยเหมิน (หมิ่นใต้) /kɔŋ⁵⁵/
/kŋ̍⁵⁵/
ฝูโจว (หมิ่นตะวันออก) /kuoŋ⁴⁴/
เจี้ยนโอว (หมิ่นเหนือ) /kuaŋ⁵⁴/
ซัวเถา (หมิ่นใต้) /kuaŋ³³/
/kɯŋ³³/
ไหโข่ว (หมิ่นใต้) /kuaŋ²³/
/kue²³/


ภาษาญี่ปุ่น แก้ไข

คันจิ แก้ไข

(เคียวอิกูกันจิระดับ 2)

การอ่าน แก้ไข

คำประสม แก้ไข

รากศัพท์ 1 แก้ไข

คันจิในศัพท์นี้
ひかり
ระดับ: 2
คุนโยมิ
 
วิกิพีเดียภาษาญี่ปุ่นมีบทความเกี่ยวกับ:
Wikipedia ja
 
วิกิพีเดียมีบทความเกี่ยวกับ:
Wikipedia

⟨pi1kari⟩ → */pʲikari//ɸikari//hikari/

สืบทอดจากภาษาญี่ปุ่นเก่า.

Nominalization of the 連用形 (ren'yōkei, continuative or stem form) of verb 光る (hikaru, to shine, to glitter, to gleam).[1][2]

การออกเสียง แก้ไข


คำนาม แก้ไข

(ひかり) (hikari

  1. แสงทางกายภาพ:
    1. แสง
    2. เรืองแสง, รังสี
    3. ริบหรี่, เปล่งประกาย, ประกายไฟ
    4. มันวาว, เงา
  2. แสงเชิงเปรียบเทียบ:
    1. ชื่อเสียง, อิทธิพล, อำนาจ
    2. ริบหรี่, แพรว
      前途(ぜんと)(ひかり)(うしな)
      zento ni hikari o ushinau
      to lose light regarding the future → future prospects grow dim
      解決(かいけつ)への(みち)(ひかり)()げかける
      kaiketsu e no michi ni hikari o nagekakeru
      to shed light on the way to a solution
    3. การมองเห็น, สายตา
ลูกคำ แก้ไข

คำสืบทอด แก้ไข

  • โอกินาวะ: (fikari)

คำวิสามานยนาม แก้ไข

(ひかり) (Hikari

  1. เมืองในจังหวัดยะมะงุชิ
  2. นามสกุล
  3. ชื่อบุคคลหญิง

รากศัพท์ 2 แก้ไข

คันจิในศัพท์นี้
ひか(る)
ระดับ: 2
คุนโยมิ

การออกเสียง แก้ไข

คำวิสามานยนาม แก้ไข

(ひかる) (Hikaru

  1. ชื่อบุคคลชาย

รากศัพท์ 3 แก้ไข

คันจิในศัพท์นี้
こう
ระดับ: 2
อนโยมิ

/kʷau//kʷɔː//kɔː//koː/

จากภาษาจีนยุคกลาง (MC kwang).

เทียบกับปัจจุบัน ภาษาจีนกลาง (guāng), ภาษาแคะ (kông), and ภาษาหมิ่นใต้ (kong).

การออกเสียง แก้ไข

คำเติม แก้ไข

(คำเติม) หรือ (こう) (คำเติม หรือ くわう (kwau)?[[Category:Invalid part of speech.ภาษาญี่ปุ่น|คำเติม]]

  1. แสง
  2. แพรว, ส่องแสง
  3. ทิวทัศน์
  4. เกียรติ, เกียรติยศ, ความภาคภูมิใจ
  5. การตรัสรู้
  6. หมด
ลูกคำ แก้ไข

คำวิสามานยนาม แก้ไข

(こう) (くわう (kwau)?

  1. ชื่อบุคคลชายหรือหญิง

อ้างอิง แก้ไข

  1. 2531 (1988), 国語大辞典(新装版) (Kokugo Dai Jiten, ฉบับปรับปรุงใหม่) (ภาษาญี่ปุ่น), โตเกียว: โชงะกุกัง
  2. 2.0 2.1 2006, 大辞林 (Daijirin), Third Edition (in Japanese), Tōkyō: Sanseidō, →ISBN
  3. 2541 (1998), NHK日本語発音アクセント辞典 (พจนานุกรมสำเนียงการออกเสียงภาษาญี่ปุ่นโดยเอ็นเอชเค) (ภาษาญี่ปุ่น), โตเกียว: เอ็นเอชเค, →ISBN